1 / 40

เทคโนโลยีชีวภาพ : ระดับมหภาคและจุลภาค Biotechnology: Macro-Micro Perspective

โครงสร้างนโยบาย การวิจัยของชาติระยะยาว (2552-2572) Policy Infrastructure for Long Term Research (2009-2029 ). เทคโนโลยีชีวภาพ : ระดับมหภาคและจุลภาค Biotechnology: Macro-Micro Perspective. คณะผู้วิจัย: พงศ์เทพ อัครธนกุล วิชัย โฆสิตรัตน อรชส นภสินธุวงศ์ สุจินต์ ภัทรภูวดล อรอุบล ชมเดช

naoko
Download Presentation

เทคโนโลยีชีวภาพ : ระดับมหภาคและจุลภาค Biotechnology: Macro-Micro Perspective

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงสร้างนโยบาย การวิจัยของชาติระยะยาว (2552-2572) Policy Infrastructure for Long Term Research (2009-2029) เทคโนโลยีชีวภาพ : ระดับมหภาคและจุลภาคBiotechnology: Macro-Micro Perspective

  2. คณะผู้วิจัย: พงศ์เทพ อัครธนกุล วิชัย โฆสิตรัตน อรชส นภสินธุวงศ์ สุจินต์ ภัทรภูวดล อรอุบล ชมเดช จุฑาเทพ วัชระไชยคุปต์ นุช ศตคุณ

  3. วัตถุประสงค์โครงการ • เพื่อทบทวนสถานการณ์ของเทคโนโลยีชีวภาพทั้งในและต่างประเทศ • เพื่อจัดทำเป้าหมายเชิงกลยุทธ์(Strategic goals) และแผนที่นำทางวิจัย (Research roadmap)ของนโยบายวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพระยะยาว โดยการวิเคราะห์ภาพอนาคต (Foresight analysis) • 3. เพื่อเสนอยุทธศาสตร์ และกลไกการขับเคลื่อนนโยบายวิจัยระยะยาวด้านเทคโนโลยีชีวภาพ

  4. ขอบเขตของเทคโนโลยีชีวภาพขอบเขตของเทคโนโลยีชีวภาพ • เทคโนโลยีชีวภาพด้านเกษตร • เทคโนโลยีชีวภาพด้านเภสัชศาสตร์ • เทคโนโลยีชีวภาพด้านการแพทย์ • เทคโนโลยีชีวภาพด้านสิ่งแวดล้อม • เทคโนโลยีชีวภาพด้านอุตสาหกรรม

  5. สถานการณ์ปัจจุบันการวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์ กับนโยบายเทคโนโลยีชีวภาพ 5

  6. กรอบนโยบายเทคโนโลยีชีวภาพ (2547-2552) ที่มา : ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

  7. งานวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพด้านเกษตรงานวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพด้านเกษตร ชิ้นงานทั้งหมด 1,343 เรื่อง • ที่มา: รวบรวมและจัดกลุ่มจากฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็มของเครือข่ายมหาวิทยาลัย • และฐานข้อมูลวิจัยไทย (พ.ศ. 2540-2551)

  8. งานวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพงานวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพ ด้านเภสัชศาสตร์ ชิ้นงานทั้งหมด 750 เรื่อง • ที่มา: รวบรวมและจัดกลุ่มจากฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็มของเครือข่ายมหาวิทยาลัย • และฐานข้อมูลวิจัยไทย (พ.ศ. 2540-2551)

  9. งานวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพงานวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพ ด้านการแพทย์ ชิ้นงานทั้งหมด 847 เรื่อง • ที่มา: รวบรวมและจัดกลุ่มจากฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็มของเครือข่ายมหาวิทยาลัย • และฐานข้อมูลวิจัยไทย (พ.ศ. 2540-2551)

  10. งานวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพงานวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพ ด้านสิ่งแวดล้อม ชิ้นงานทั้งหมด 308 เรื่อง • ที่มา: รวบรวมและจัดกลุ่มจากฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็มของเครือข่ายมหาวิทยาลัย • และฐานข้อมูลวิจัยไทย (พ.ศ. 2540-2551)

  11. งานวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพงานวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพ ด้านอุตสาหกรรม ชิ้นงานทั้งหมด 1,045 เรื่อง • ที่มา: รวบรวมและจัดกลุ่มจากฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็มของเครือข่ายมหาวิทยาลัย • และฐานข้อมูลวิจัยไทย (พ.ศ. 2540-2551)

  12. เทคโนโลยีชีวภาพด้านเกษตรเทคโนโลยีชีวภาพด้านเกษตร

  13. เป้าหมายเชิงกลยุทธ์และฐานวิชาการเป้าหมายเชิงกลยุทธ์และฐานวิชาการ สาขาเทคโนโลยีชีวภาพด้านเกษตร เป้าหมายที่1 1. จีโนมิคส์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 2. การปรับปรุงพันธุ์ด้วยเทคนิคทางอณูวิทยาและเทคโนโลยีเพาะเลี้ยงเซลล์และเนื้อเยื่อ “เพิ่มผลิตภาพในการผลิตพืชรวมถึงการใช้เทคโนโลยีชีวภาพด้านเกษตรลดสภาวะการแข่งขันพื้นที่ทางการเกษตรเพื่อผลิตพืชอาหารและพลังงาน” 3. การพัฒนาสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม 4. การตรวจสอบและการวินิจฉัยและเทคโนโลยีวัคซีน 1 2 3 4 เป้าหมายที่4 เป้าหมายที่3 เป้าหมายที่2 “เพิ่มขีดความสามารถในการพึ่งพาตัวเองของภาคผลิตเกษตรและเศรษฐกิจชุมชน” “เพิ่มความสามารถในการแข่งขันการผลิตสินค้าเกษตร และอาหารที่มีคุณภาพและความปลอดภัย” “เพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรและอาหารเพื่อการส่งออก” 2 4 1 2 4 1 2 3 4

  14. การวิเคราะห์ภาพอนาคต (foresight analysis) สาขาเทคโนโลยีชีวภาพด้านเกษตร

  15. เทคโนโลยีชีวภาพด้านเภสัชศาสตร์เทคโนโลยีชีวภาพด้านเภสัชศาสตร์

  16. เป้าหมายเชิงกลยุทธ์และฐานวิชาการเทคโนโลยีชีวภาพด้านเภสัชศาสตร์เป้าหมายเชิงกลยุทธ์และฐานวิชาการเทคโนโลยีชีวภาพด้านเภสัชศาสตร์ เป้าหมายที่1 1. Biotechnological tools in drug discovery 2. Biologics, pharmaceutical, nutraceutical, and cosmaceutical development and manufacturing “การเพิ่มปริมาณ ปรับปรุงคุณภาพ ความปลอดภัยและประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ธรรมชาติโดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ ” 3. Pharmacogenomics and bioinformatics 4. Product safety and monitoring 1 3 4 เป้าหมายที่4 เป้าหมายที่3 เป้าหมายที่2 “การนำวิทยาการทางเภสัชพันธุศาสตร์มาใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดจากการใช้ยาในผู้ป่วย อย่างสมเหตุสมผล ” “การใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการผลิตยาและเภสัชภัณฑ์ของโรคอุบัติใหม่และกลับมาอุบัติใหม่และโรคในภูมิภาคเขตร้อน” “การผลิตโภชนเภสัชภัณฑ์และเวชสำอางโดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ ” 2 1 3 1 2 4 1 3 4

  17. การวิเคราะห์ภาพอนาคต (foresight analysis) เทคโนโลยีชีวภาพด้านเภสัชศาสตร์

  18. เทคโนโลยีชีวภาพด้านการแพทย์เทคโนโลยีชีวภาพด้านการแพทย์

  19. เป้าหมายเชิงกลยุทธ์และฐานวิชาการเทคโนโลยีชีวภาพด้านการแพทย์เป้าหมายเชิงกลยุทธ์และฐานวิชาการเทคโนโลยีชีวภาพด้านการแพทย์ เป้าหมายที่1 • การหาสาเหตุและกลไกการเกิดโรค • 1.1 ระบาดวิทยา • 1.2 กลไกระดับเซลล์และโมเลกุล • 1.3 สรีรวิทยาของความผิดปกติ “การใช้เทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์เพื่อประกันความมั่นคงทางสุขภาพ” • 2. การวินิจฉัยและทำนายโรค • 2.1 โมเลกุลเป้าหมายสำหรับวินิจฉัย • 2.2 วิธีตรวจที่สะดวกและรวดเร็ว • 3. การรักษาโรค • 3.1 โมเลกุลเป้าหมาย • 3.2 การค้นพบยา • 3.3 แนวทางการรักษาเฉพาะบุคคลและเภสัชพันธุศาสตร์ระดับจีโนม • 3.4 เวชศาสตร์การซ่อมแซม (วิศวกรรมเนื้อเยื่อและเซลล์ต้นแบบ) 1 3 2 4 เป้าหมายที่2 4. การป้องกันโรคและความมั่นคงทางสุขภาพ 4.1 วัคซีน (โรคใหม่และโรคประจำถิ่น) 4.2 การป้องกันโรคโดยการปรับพฤติกรรมส่วนบุคคลและสังคม “การใช้เทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์และบริการในเชิงพาณิชย์” 1 3 2 4

  20. การวิเคราะห์ภาพอนาคต (foresight analysis) เทคโนโลยีชีวภาพด้านการแพทย์

  21. เทคโนโลยีชีวภาพด้านสิ่งแวดล้อมเทคโนโลยีชีวภาพด้านสิ่งแวดล้อม

  22. เป้าหมายเชิงกลยุทธ์และฐานวิชาการเทคโนโลยีชีวภาพด้านสิ่งแวดล้อมเป้าหมายเชิงกลยุทธ์และฐานวิชาการเทคโนโลยีชีวภาพด้านสิ่งแวดล้อม 1. การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมด้วยวิธีทางชีวภาพ 2. การวิจัยและพัฒนาพลังงานทางชีวภาพ 3. การใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ 4. การพัฒนาการผลิต green product เป้าหมายที่3 เป้าหมายที่2 เป้าหมายที่1 “อนุรักษ์ และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน” “แก้ปัญหาและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ด้วยวิธีทางชีวภาพ bioremediation” “สร้างความมั่นคงด้านพลังงาน” 2 4 1 2 3 1 4 2 3 4

  23. การวิเคราะห์ภาพอนาคต (foresight analysis) เทคโนโลยีชีวภาพด้านสิ่งแวดล้อม

  24. เทคโนโลยีชีวภาพด้านอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพด้านอุตสาหกรรม

  25. เป้าหมายเชิงกลยุทธ์และฐานวิชาการเทคโนโลยีชีวภาพด้านอุตสาหกรรมเป้าหมายเชิงกลยุทธ์และฐานวิชาการเทคโนโลยีชีวภาพด้านอุตสาหกรรม • อาหาร เครื่องดื่ม และอาหารสัตว์ 2. กระบวนการวิศวกรรมชีวภาพ 3. พลังงานชีวภาพ เชื้อเพลิงชีวภาพและโรงสกัดชีวภาพ 4. เอนไซม์เพื่ออุตสาหกรรม 5. การผลิตยา วัคซีน และชุดตรวจสอบ เป้าหมายที่2 เป้าหมายที่1 “สามารถผลิตสินค้าพื้นฐาน ด้านเทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรม” “สามารถผลิตเชื้อบริสุทธิ์และเอนไซม์” 1 3 1 2 2 4 5 3 4

  26. การวิเคราะห์ภาพอนาคต (foresight analysis) เทคโนโลยีชีวภาพด้านอุตสาหกรรม

  27. ฉากทัศน์ (Scenario) และทางเลือก (Alternatives)

  28. ฉากทัศน์ที่ 1 : ภาวะเศรษฐกิจดี ภาวะคุณภาพชีวิตดี • ทางเลือก: • • เลือกประเด็นเชิงกลยุทธ์ในการลงทุนงานวิจัยพื้นฐาน ระยะยาวด้วยงบประมาณที่พอเพียง มุ่งสร้างองค์ความรู้ นำสู่นวัตกรรม สำหรับการปรับปรุงคุณภาพสินค้า บริการ และคุณภาพชีวิต เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน • • เน้นสร้างงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ (Action research) ที่หลากหลาย เพื่อปรับปรุงคุณภาพสินค้า สร้างมูลค่าเพิ่ม ความหลากหลายของสินค้าและบริการ ขยายตลาด • • ลงทุนวิจัยในรูปแบบ operation research เพื่อผดุงความสามารถในการแข่งขันภาคผลิต ในการให้บริการ อย่างมีคุณภาพ • • คงระดับงานวิจัย เพื่อเป็นทุนทางปัญญาในการรักษาภาวะคุณภาพที่ดี เป้าหมายที่2 “สามารถผลิตเชื้อบริสุทธิ์และเอนไซม์”

  29. ฉากทัศน์ที่ 2 : ภาวะเศรษฐกิจดี ภาวะคุณภาพชีวิตไม่ดี • ทางเลือก: • • เลือกประเด็นเชิงกลยุทธ์ในการลงทุนงานวิจัยพื้นฐาน ระยะยาวด้วยงบประมาณที่พอเพียง มุ่งสร้างองค์ความรู้ นำสู่นวัตกรรม สำหรับการปรับปรุงคุณภาพสินค้า บริการ และคุณภาพชีวิต เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน • • เน้นสร้างงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ (action research) ที่หลากหลาย เพื่อปรับปรุงคุณภาพสินค้า สร้างมูลค่าเพิ่ม ความหลากหลายของสินค้าและบริการ ขยายตลาด • • ลงทุนวิจัยในรูปแบบ operation research เพื่อผดุงความสามารถในการแข่งขันภาคผลิต ในการให้บริการ อย่างมีคุณภาพ • • ทุ่มเทการลงทุนงานวิจัยประยุกต์ ในกรอบประเด็นที่ตอบสนองต่อปัญหาคุณภาพชีวิต

  30. ฉากทัศน์ที่ 3 : ภาวะเศรษฐกิจไม่ดี ภาวะคุณภาพชีวิตดี • ทางเลือก: • • ทุ่มการลงทุนวิจัยในรูปแบบ operation research เพื่อพัฒนาผลผลิต กระบวนการผลิต และบริการ ที่สามารถนำไปใช้แก้ปัญหาที่ภาคผลิตเผชิญได้ทันที • • เน้นการวิจัยและพัฒนาเพื่อปรับปรุงคุณภาพสินค้า และสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อขยายตลาด • • สนธิ/บูรณาการงานวิจัยและเทคโนโลยีที่มีอยู่ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เพื่อให้เกิดการประยุกต์ และนวัตกรรม • • สนับสนุนงานวิจัยพื้นฐานในประเด็นที่จำเป็น เสริมกับองค์ความรู้ที่มีอยู่แล้ว และให้ผลตอบสนองต่อการแก้ปัญหาในระยะสั้นถึงปานกลาง

  31. ฉากทัศน์ที่ 4 : ภาวะเศรษฐกิจไม่ดี ภาวะคุณภาพชีวิตไม่ดี • ทางเลือก: • • สนธิ/บูรณาการงานวิจัยและเทคโนโลยีผนวกกับการคัดสรรและนำเข้าเทคโนโลยีที่จำเป็นจากต่างประเทศ เพื่อการประยุกต์ และนวัตกรรม ที่สามารถนำไปใช้แก้ปัญหาภาคผลิตเผชิญได้ทันที • • สนับสนุนงานวิจัยเชิงประยุกต์ที่เพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการรายย่อย- กลาง ควบคู่กับการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพื้นฐานและประยุกต์ เน้นงานวิจัยที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในระยะเวลาไม่เกิน 3 - 5 ปี โดยเฉพาะงานวิจัยที่สนับสนุนการสร้างงาน • • เน้นการวิจัยและพัฒนาเพื่อปรับปรุงคุณภาพสินค้า และสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อขยายตลาด และสร้างงาน • • เน้นการวิจัยเชิงบริการที่มีผลในการปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชนทั้งในชนบทและเมือง

  32. เป้าประสงค์ (Purpose)และเป้าหมายใน 20 ปี

  33. “เป้าประสงค์: ประเทศไทยจะมีความมั่นคงทางสุขภาพ ทางอาหารและพลังงาน อนุรักษ์สภาพแวดล้อม และยกระดับความสามารถในการแข่งขันโดยอาศัยเทคโนโลยีชีวภาพเป็นเครื่องมือสำคัญ” เป้าหมายเพื่อสาธารณประโยชน์ • ประกันความมั่นคง ทางอาหาร สุขภาพ พลังงาน สภาพแวดล้อม • ให้ความรู้ สร้างปัญญาให้กับสังคม เพิ่มทุนทางปัญญา เป้าหมายทางเศรษฐกิจ • ให้คำตอบ แก้ปัญหาของภาคผลิต • นวัตกรรมเพื่อพัฒนา • เพิ่มสมรรถภาพในการแข่งขัน

  34. โครงสร้างนโยบายวิจัย

  35. การกำหนดนโยบายวิจัย • การกำหนดนโยบายที่จะมีประสิทธิภาพและนำไปสู่ผลสัมฤทธิ์ได้นั้น ควรกำหนดนโยบายโดยมองจาก “ผู้ใช้ประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีชีวภาพ”เป็นตัวตั้ง ได้แก่ สาธารณชน ผู้บริโภคและตลาด ผู้ผลิตรายเล็ก-กลาง-ใหญ่ และผู้ทำการวิจัย รวมถึงหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการกำหนดนโยบายวิจัย และองค์กรที่ให้ทุนสนับสนุนการวิจัย เข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการกำหนด วาระการวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ • “ไม่ใช่ความสนใจของนักวิจัย • หรือผู้ประกอบการบางรายเป็นตัวตั้ง”

  36. การกำหนดนโยบายวิจัย (ต่อ) • • สถาบันการศึกษาวิจัยเพื่อสร้างบุคลากร มีนโยบายการบูรณาการงานวิจัยกับงานบัณฑิตศึกษา (Embedded graduate training) • • หน่วยงานวิจัยควรทำการสำรวจความสามารถในการให้เวลาปฏิบัติงานของนักวิจัยด้วยหน่วย ภารกิจเต็มเวลา (Research FTE) • • การพัฒนาฐานวิชาการ (Platform development) ควบคู่กับการ(Program funding) ของแต่ละฐานวิชาการ เพื่อการประยุกบรรจุ แผนงานและโครงการวิจัยต์ใช้และนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีชีวภาพทั้ง 5 สาขา • • การสร้างความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการจัดตั้ง National Research Consortiumซึ่งต้องเป็นความร่วมมือทั้งการวิจัยและงบลงทุนเพื่อการวิจัย โดยมีกลไกสนับสนุนเพื่อให้มีแรงขับเคลื่อนพอเพียง

  37. IP vs non-IP Non-tariff barriers Accountability Mechanism Ethics International agreements ผู้ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีชีวภาพ Effective communication with stakeholders&peers Technology advocacy วาระการวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ หน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการกำหนดนโยบายวิจัย องค์กรให้ทุนสนับสนุนการวิจัย ผู้มีอำนาจในการกำหนดนโยบายวิจัย คณะกรรมการบริหารทรัพยากรวิจัย สถาบันการศึกษา วิจัย-สร้างบุคลากร หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานเอกชน Non-Profit Organization Accountability Mechanism Effective communication with stakeholders&peers หน่วยงานถ่ายทอดเทคโนโลยี Output ของงานวิจัย โครงสร้างนโยบายการวิจัย:เทคโนโลยีชีวภาพ Program funding/ Platform development Research FTE National Research Consortium Embedded graduate training

  38. กลไกขับเคลื่อนแผนการวิจัยเทคโนโลชีวภาพในระยะยาวกลไกขับเคลื่อนแผนการวิจัยเทคโนโลชีวภาพในระยะยาว

  39. ขอขอบคุณ

More Related