1 / 50

การประยุกต์ CSR สู่การสร้างเสริมธุรกิจเพื่อสังคม : หลักการ แนวทาง และการปฏิบัติที่เป็นเลิศ

การประยุกต์ CSR สู่การสร้างเสริมธุรกิจเพื่อสังคม : หลักการ แนวทาง และการปฏิบัติที่เป็นเลิศ. ดร.ไชยยศ บุญญากิจ. สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย. 11 ตุลาคม 2553. การประชุมสัมมนา “ บทบาทคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ ” ประจำปีบัญชี 2553 ณ สถาบันวิชาการทีโอที (งามวงศ์วาน). หัวข้อ. ความยั่งยืนของโลก

nanji
Download Presentation

การประยุกต์ CSR สู่การสร้างเสริมธุรกิจเพื่อสังคม : หลักการ แนวทาง และการปฏิบัติที่เป็นเลิศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประยุกต์ CSR สู่การสร้างเสริมธุรกิจเพื่อสังคม :หลักการ แนวทาง และการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ดร.ไชยยศ บุญญากิจ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 11 ตุลาคม 2553 การประชุมสัมมนา “บทบาทคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ” ประจำปีบัญชี 2553 ณ สถาบันวิชาการทีโอที (งามวงศ์วาน)

  2. หัวข้อ • ความยั่งยืนของโลก • ความยั่งยืนของประเทศไทย • การพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย • ทางเลือก - CSR - ISO 26000 • สรุป

  3. การเปลี่ยนแปลงของโลกใน 1 วินาที - การเติบโตของประชากร (2.4 คน/วินาที) 200,000 คน/วัน - การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 390,000 ลบ.ม. - การละลายของธารน้ำแข็ง 1,629 ลบ.ม. - การลดลงของปริมาณก๊าซออกซิเจน (O2) ในอากาศ 710ตัน - การสูญหายของพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก 2,300 ตร.ม. - การบริโภคโค กระบือ 3 ตัว หมู 7 ตัว ไก่ 1,100 ตัว รวมเป็นจำนวนเนื้อสัตว์ทั้งสิ้น 6.9 ตัน - การสูญหายของพื้นที่ป่าไม้ธรรมชาติ 5,100 ตร.ม. - การผลิตรถยนต์ 1.3 คัน - การผลิตโทรทัศน์ 4.2 เครื่อง - 532 คนไปแมคโดนัลด์ และรับประทานแฮมเบอร์เกอร์มากกว่า 500 ชิ้น แปลและเรียบเรียงจาก Ryoichi YAMAMOTO (DIAMOND Co.2003)

  4. สถานการณ์ความยั่งยืนของโลกสถานการณ์ความยั่งยืนของโลก • ประชากรโลกกำลังเพิ่มขึ้น ค.ศ.2000 (2543) มีจำนวน6 พันล้านคน และคาดว่า…. ค.ศ.2025 (2568) มีจำนวน7.9 พันล้านคน ค.ศ.2050 (2593) มีจำนวน9.3 พันล้านคน ที่มา:TBCSD,2546

  5. โลกกำลังรวยขึ้น GDP PER CAPITA (CONSTANT 1995 US DOLLARS ) ที่มา : TBCSD,Tomorrow’s Market 2546

  6. Resource use & waste

  7. What is Ecological Footprint? เป็นเครื่องมือในการวัดและวิเคราะห์การบริโภคทรัพยากรธรรมชาติของมนุษย์ • เครื่องมือนี้เป็นเสมือนกล้องถ่ายรูปทางนิเวศ ที่ถ่ายให้เห็นถึงปริมาณความต้องการทรัพยากรธรรมชาติ • เป็นการคำนวณขนาดพื้นที่ที่จำเป็นเพื่อการดำรงชีวิต • ในหน่วย hectares (ha) • 1 ha = 10,000 m2 = 6.25 ไร่

  8. What does Ecological Footprint calculate ? การบริโภค การปล่อยของเสีย • อาหาร • ที่อยู่อาศัย • การขนส่ง • สินค้าและบริการ • สิ่งโสโครก • คาร์บอนไดออกไซด์

  9. พ.ศ.2547 มีประชากรโลก 6 พันล้านคน มีพื้นที่เพื่อรองรับการบริโภคบนโลกคนละ 1.8 เฮกตาร์ แต่พื้นที่ที่ใช้ในการบริโภคจริง คนละ 2.2 เฮกตาร์ เกินความสามารถรองรับถึง 21% หมายเหตุ 1 เฮกตาร์ = 6.25 ไร่

  10. รอยเท้าทางนิเวศเปรียบเทียบกับ GDP ที่มา: Matt Green;The YUC Factor Presentation.6th APRSPC.Melbourne Australia 2005.

  11. กรอบแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทยกรอบแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทย • ใช้แนวทาง “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” • พัฒนามิติต่างๆ ทั้งด้านคน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมอย่างมี ดุลยภาพ เกื้อกูล และไม่เกิดการขัดแย้งซึ่งกันและกัน • ให้เศรษฐกิจขยายตัวอย่างมีคุณภาพและแข่งขันได้ โดยคำนึงถึงขีดจำกัดของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  12. เกณฑ์การคัดเลือกตัวชี้วัดเกณฑ์การคัดเลือกตัวชี้วัด • มีความเกี่ยวข้องหรือเป็นเหตุเป็นผลโดยตรงต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน • 2. สรุปภาพรวมในระดับประเทศ • 3. เข้าใจได้ง่าย และเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานภาครัฐในการวางแผนและปฏิบัติ ตลอดจนเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ • 4. วัดค่าได้ในเชิงปริมาณและมีข้อมูลสนับสนุน • 5. มีจำนวนไม่มากเกินไป และหลีกเลี่ยงการใช้ตัวชี้วัดมากกว่า 1 ตัวในการชี้วัดเรื่องเดียวกัน

  13. ตัวชี้วัดมิติเศรษฐกิจ (12)

  14. สัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนต่อการใช้พลังงานทั้งหมดสัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนต่อการใช้พลังงานทั้งหมด

  15. สัดส่วนของเสียที่ถูกนำมาใช้ซ้ำหรือแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ต่อของเสียทั้งหมดที่เกิดขึ้นสัดส่วนของเสียที่ถูกนำมาใช้ซ้ำหรือแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ต่อของเสียทั้งหมดที่เกิดขึ้น

  16. ตัวชี้วัดมิติสังคม (13)

  17. จำนวนปีเฉลี่ยที่ได้รับการศึกษาของประชาชนจำนวนปีเฉลี่ยที่ได้รับการศึกษาของประชาชน

  18. ผลคะแนนการทดสอบ 4 วิชาหลัก ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  19. การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาต่อ GDP หมายเหตุ: ตัวเลขไม่รวมการวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชน ที่มา: สำนักวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี สศช. (2547)

  20. ตัวชี้วัดมิติสิ่งแวดล้อม (14)

  21. ปริมาณสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่จับได้ต่อชั่วโมงปริมาณสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่จับได้ต่อชั่วโมง ปริมาณสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่จับได้ในระยะ 3 กม. จากชายฝั่งทะเล

  22. สัดส่วนของเสียที่ได้รับการบำบัดอย่างถูกต้องสัดส่วนของเสียที่ได้รับการบำบัดอย่างถูกต้อง ปริมาณมูลฝอยจากชุมชนที่ได้รับการบำบัด ระหว่างปี 2541-2546

  23. ดัชนีการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย (2542-2547)

  24. แนวทางเพื่อความยั่งยืนแนวทางเพื่อความยั่งยืน โดย... • ควบคุมการเพิ่มขึ้นของประชากร • เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรเพื่อการผลิตสินค้า และบริการ เช่น เทคโนโลยีสะอาด (Cleaner Technology: CT) การออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม (Eco Design), Life Cycle Assessment (LCA), ISO 14001 • บริโภคอย่างชาญฉลาด เช่น การเลือกใช้สินค้าฉลากเขียว (Green Label Product), การจัดซื้อจัดจ้างสีเขียว, การทำ Footprint ของผลิตภัณฑ์/บริการ, ฉลาก Carbon • การปฎิบัติตามหลักการ CSR – ISO 26000 เพิ่มความสมดุลระหว่างปริมาณการบริโภคกับปริมาณทรัพยากรสำรอง

  25. คำนิยาม CSR:WBCSD “ความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่องขององค์กรต่อการปฏิบัติตาม พันธสัญญาในการดำเนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรม เพื่อสร้างความเจริญก้าวหน้าต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ พร้อมไปกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของพนักงาน และครอบครัวตลอดจนชุมชนและสังคม” ที่มา: World Business Council for Sustainable Development ถอดความโดย : ผศ. ดร. สุทธิศักดิ์ ไกรสรสุธาสินี

  26. คำนิยาม CSR : EFQM “แนวคิดที่ผสานความใส่ใจต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมไว้ในกระบวนการดำเนินธุรกิจ และการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใต้พื้นฐาน การกระทำตามความสมัครใจ” ที่มา: The European Foundation for Quality Management ถอดความโดย : ผศ. ดร. สุทธิศักดิ์ ไกรสรสุธาสินี

  27. คำนิยาม ISO 26000 • ความรับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากการกระทำหรือการตัดสินใจขององค์กรนั้นๆ โดยแสดงถึงความโปร่งใส และมีจรรยาบรรณ โดยพฤติกรรมกิจกรรมขององค์กร รวมไปถึงสินค้าและบริการดังกล่าวจะต้อง • สอดคล้องกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนและสวัสดิภาพสังคม • สอดคล้องกับความคาดหวังของผู้ถือประโยชน์ • เป็นไปตามกฎหมายที่บังคับใช้ และสอดลคล้องกับมาตรฐานสากล • สามารถนำมาบูรณาการกับทั้งองค์กรได้ • ที่มา: ร่างมาตรฐานสากลว่าด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

  28. จุดเริ่มต้นของ ISO 26000 By TMB

  29. การกำหนดมาตรฐาน อุตสาหกรรม (Industry) ผู้บริโภค (Consumer) หน่วยงานที่ไม่ใช่ภาครัฐ (NGOs) แรงงาน (Labor) ที่เหลือ ได้แก่ การบริการ หน่วยงานสนับสนุน งานวิจัย และ อื่นๆ (SSRO: Service, support, research and others) รัฐ หรือราชการ (Governments)

  30. แผนการประกาศ ISO 26000 • สถานภาพขณะนี้ได้มีการ approvedFDIS 26000(กันยายน 2553) • จะประกาศใช้1 พฤศจิกายน 2553 • ติดตามได้ที่http://www.iso.org/wgsr

  31. ขอย้ำว่า ISO 26000 • ISO 26000 - Guidance on Social Responsibility • มาตรฐานให้ ข้อแนะนำ เกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม (SR) • ไม่ใช่มาตรฐานระบบการบริหารงาน (Management system standards) • ไม่มีจุดมุ่งหมายให้นำไปใช้ในการรับรอง (Third - party Certification)

  32. Countries Countries taking part on the ISO 26000 development process South Africa Germany Argentina Armenia Australia Austria Azerbaijan Bahrain Barbados Belarus Belgium Brazil Canada Kazakhstan Chile China Singapore Colombia Korea Ivory Coast Costa Rica Cuba Denmark Egypt United Arab Emirates Ecuador Spain United States Philippines Finland France Ghana Greece The Netherlands India Indonesia Iran Ireland Israel Italy Jamaica Japan Jordan Malaysia Morocco Mauritius Mexico Nigeria Norway New Zealand Panama Peru Poland Portugal Kenya United Kingdom Czech Republic Romania Romania Russia Saint Lucia Serbia Sweden Switzerland Thailand Trinidad and Tobago Turkey Uruguay Venezuela Vietnam Zimbabwe Observer countries on the ISO 26000 development process Bolivia Cameroon Estonia Guatemala Hong Kong Lithuania Mongolia Senegal

  33. D-liaison organizations -IEPF (Institute for Energy and Environment of the French Speaking Countries) -IFAN (International Federation of Standards Users) -IIED (International Institute for Sustainable Development) -IISD (International Institute for Sustainable Development) -Inter American CSR Network -IOE (International Organization of Employers) -IPIECA (International Petroleum Industry Environmental Conservation Association) -ISEAL Alliance (International Social and Environmental Accreditation and Labeling) -ITUC (International Trade Union Confederation) -NORMAPME (European Office of Crafts, Trades and Small and Medium-Sized Enterprises for Standardization) -OECD (Organization for Economic Cooperation and Development) -OGP (International Association of Oil & Gas Producers) -ILO (International Labor Organization) -WHO (World Health Organization) -Global Compact -Red Puentes -SAI (Social Accountability International) -Transparency International -UNDSD (United Nation Division for Sustainable Development) -UNCTAD (United Nations Conference on Trade and Development) -UNIDO (United Nations Industrial Development Organization) -WBCSD (World Business Council on Sustainable Development) • Entities taking part on the ISO 26000 development process • Accountability • AICC (African Institute of Corporate Citizenship) • AIHA (American Industrial Hygiene Association) • BIAC (The Business and Industry Advisory Committee to the OECD) • CCER (Centre for Corporate Social Responsibility) • CI (Consumers International) • European Commission • Ecologia (Ecologists Linked for Organizing Grassroots Initiatives and Action) • EFQM • EIRIS (Ethical Investment Research Services) • Forum Empresa-Ethos Institute • GRI (Global Reporting Initiative) • IABC (International Chamber of Commerce) • ICMM (International Council of Mining and Metals)

  34. Schematic overview of ISO 26000

  35. ISO/FDIS 26000 1.ขอบเขต เป็นแนวทางสำหรับองค์กรทุกขนาดและทุกพื้นที่บนพื้นฐานของ แนวคิด คำศัพท์และคำนิยามที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบต่อสังคม ความเป็นมา แนวโน้ม และลักษณะของความรับผิดชอบต่อสังคม หลักการและวิธีปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบต่อสังคม หัวข้อหลักที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบต่อสังคม ประเด็นของความรับผิดชอบต่อสังคม การบูรณาการ การประยุกต์ใช้และการส่งเสริมพฤติกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมทั่วทั้งองค์กร ผ่านนโยบายและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับขอบเขตผลกระทบขององค์กร การชี้บ่งและการดำเนินงานร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การสื่อสารความมุ่งมั่น และสมรรถนะขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบ ต่อสังคม

  36. วัตถุประสงค์ของมาตรฐานวัตถุประสงค์ของมาตรฐาน - ช่วยให้องค์กรมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน - กระตุ้นให้องค์กรดำเนินกิจกรรมให้มีการปฏิบัติที่สอดคล้องกับ กฎหมาย - ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคม - ให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม และใช้เป็นส่วนหนึ่ง ของกิจกรรมตามนโยบายสาธารณะ - การนำมาตรฐานไปใช้ควรพิจารณาความหลากหลาย และ ความแตกต่างด้านสังคมสิ่งแวดล้อม กฎหมาย และองค์กรแต่ละแห่ง โดยพิจารณาเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ และพฤติกรรมตามหลักสากล

  37. ISO/FDIS 26000 2. นิยามศัพท์และคำนิยาม 2.14 หลักการ 2.15 ผลิตภัณฑ์ 2.16 การบริการ 2.17 การสานเสวนาทางสังคม 2.18 ความรับผิดชอบต่อสังคม 2.19 ขอบเขตอิทธิพล 2.20 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.21 การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.22 ห่วงโซ่อุปทาน 2.23 การพัฒนาอย่างยั่งยืน 2.24 ความโปร่งใส 2.25 ห่วงโซ่คุณค่า 2.26 กลุ่มผู้ที่ต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษ 2.27 คนงาน 2.1 ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ 2.2 ผู้บริโภค 2.3 ลูกค้า 2.4การตรวจสอบและประเมินสถานะขององค์กร 2.5ลูกจ้าง 2.6 สภาพแวดล้อม 2.7 หลักการปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม 2.8 ความเท่าเทียมกันทางเพศ 2.9 ผลกระทบขององค์กร 2.10 กิจกรรมการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม 2.11 แนวปฏิบัติตามหลักสากล 2.12 องค์กร 2.13 การกำกับดูแลองค์กร

  38. ISO/FDIS 26000 3. ความเข้าใจต่อความรับผิดชอบต่อสังคม • 3.1ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร • ความรับผิดชอบต่อสังคมเริ่มใช้กว้างขวางในช่วงต้นของ 1970s แม้ว่าประเด็นของความรับผิดชอบต่อสังคมจะหลากหลาย • ความสนใจด้านความรับผิดชอบต่อสังคมในอดีตมุ่งเน้นที่ธุรกิจ • คุ้นเคยกันกับคำว่า “Corporate Social Responsibility” • เริ่มแรกเน้นที่กิจกรรมการให้ความช่วยเหลือ(Philanthropic activities) • อนาคตอาจมีประเด็นอื่นๆ เพิ่มเป็นองค์ประกอบสำคัญของประเด็นความรับผิดชอบต่อสังคม • 3.2แนวโน้มปัจจุบันของความรับผิดชอบต่อสังคม • ความสนใจในเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรเพิ่มมากขึ้นด้วยเหตุผลต่างๆ • โลกาภิวัฒน์ (Globalization)การเดินทาง และการสื่อสาร • ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพระดับโลก และการรณรงค์ในการแก้ปัญหาความยากจน • บทบาทของภาคเอกชน ภาครัฐ และภาคองค์กรพัฒนาเอกชน • ความคาดหวังและความต้องการจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 42

  39. ISO/FDIS 26000 4. หลักการความรับผิดชอบต่อสังคม 1) หลักการความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (Accountability) 2) หลักการความโปร่งใส (Transparency) 3) หลักการปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม (Ethical behavior) 4) หลักการยอมรับถึงผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Respect for stakeholder interests) 5) หลักการเคารพต่อหลักนิติธรรม (Respect for the rule of law) 6) หลักการเคารพต่อแนวปฏิบัติสากล (Respect for international norms of behavior) 7) หลักการเคารพต่อสิทธิมนุษยชน (Respect for human rights)

  40. ISO/FDIS 26000 5. การให้ความสำคัญกับการยอมรับความรับผิดชอบต่อสังคม และการดำเนินการกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Recognizing SR and engaging stakeholders) • 5.1 ทั่วไป (General) • การปฏิบัติพื้นฐานของความรับผิดชอบต่อสังคม2ส่วน คือ การยอมรับความรับผิดชอบต่อสังคม และการชี้บ่งและการดำเนินงานกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • 5.2 การยอมรับSR (Recognizing SR) • 5.2.1ผลกระทบ ความเห็นและความคาดหวัง • ระหว่างองค์กรกับสังคม • ระหว่างองค์กรกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสังคม

  41. ISO/FDIS 26000 Holistic approach การมีส่วนร่วม และพัฒนาชุมชน สิทธิมนุษยชน การกำกับดูแล ประเด็น ผู้บริโภค การปฏิบัติ ด้านแรงงาน องค์กร การดำเนินงาน อย่างเป็นธรรม สิ่งแวดล้อม การดำเนินงาน Interdependence 6. หัวข้อหลัก 7 หัวข้อ

  42. ISO/FDIS 26000 7.2 7. แนวทางการบูรณาการความรับผิดชอบต่อสังคมทั่วทั้งองค์กร 7.1 ทั่วไป ความสัมพันธ์ขององค์กรกับความรับผิดชอบต่อสังคม ความเข้าใจด้านความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร 7.3 การปฏิบัติเพื่อยกระดับความรับผิดชอบต่อสังคมตลอดทั่วทั้งองค์กร 7.4

  43. ISO/FDIS 26000 7.6 7. แนวทางการบูรณาการความรับผิดชอบต่อสังคมทั่วทั้งองค์กร (ต่อ) 7.5 การสื่อสารด้านความรับผิดชอบต่อสังคม การเพิ่มความน่าเชื่อถือด้านความรับผิดชอบต่อสังคม การทบทวน ปรับปรุงกิจกรรมและแนวปฏิบัติขององค์กร ที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบต่อสังคม 7.7 7.8 โครงการจิตอาสาเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

  44. ISO/FDIS 26000 “ ISO 26000 is not a management system standard. It is not intended or appropriate for certification purposes Or regulatory or contractual use. ”

  45. สรุป • โลกไม่ยั่งยืน • ประเทศไทยมีแนวโน้มว่าไม่ยั่งยืน • ทางเลือก CSR – ISO 26000 • ต้องลงมือปฎิบัติอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง

  46. ดร. ไชยยศ บุญญากิจ รองผู้อำนวยการ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนแจ้งวัฒนะ ตำบลบางพูด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ (662) 503-3333 โทรสาร (662) 504-4826-8 Website : www.tei.or.th E-mail : chaiyod@tei.or.th

More Related