1.73k likes | 3.67k Views
โรคติดเชื้ออุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ. สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค http://beid . ddc . moph . go . th. โรคติดเชื้ออุบัติใหม่ ( Emerging Infectious Diseases ). โรคติดเชื้อชนิดใหม่ๆ ที่มีรายงานในระยะ 20 ปีที่ผ่านมา หรือ โรคติดเชื้อที่มีแนวโน้มที่จะพบมากขึ้นในอนาคต
E N D
โรคติดเชื้ออุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค http://beid.ddc.moph.go.th
โรคติดเชื้ออุบัติใหม่(Emerging Infectious Diseases) โรคติดเชื้อชนิดใหม่ๆ ที่มีรายงานในระยะ 20 ปีที่ผ่านมา หรือ โรคติดเชื้อที่มีแนวโน้มที่จะพบมากขึ้นในอนาคต โรคที่เกิดขึ้นใหม่ในที่ใดที่หนึ่ง หรือ โรคที่เพิ่งจะแพร่ระบาดเข้าไปสู่อีกที่หนึ่ง โรคติดเชื้อที่เคยควบคุมได้ด้วยยาปฏิชีวนะแต่เกิดการดื้อยา เช่น SARS, โรคเอดส์,ไข้หวัดใหญ่สัตว์ปีกหรือไข้หวัดนก และวัณโรคดื้อยา
โรคติดเชื้ออุบัติซ้ำ (Re-emerging Infectious Diseases) โรคติดเชื้อที่เคยแพร่ระบาดในอดีต และสงบไปแล้วเป็นเวลานานหลายปี แต่กลับมาระบาดขึ้นอีก เช่น วัณโรค ไข้เลือดออก และมาลาเรีย เป็นต้น คืออะไร
นิยาม: องค์การอนามัยโลก (WHO) เป็นโรคติดต่อที่มีอุบัติการณ์ในมนุษย์เพิ่มสูงขึ้นมาก ในช่วงที่เพิ่งผ่านมา หรือ มีแนวโน้ม ความเสี่ยงที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตอันใกล้ โดย แบ่งเป็น 5 กลุ่มโรค
กลุ่มโรคติดต่ออุบัติใหม่: องค์การอนามัยโลก • โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อใหม่ (new infectious diseases) • 2. โรคติดต่อที่พบในพื้นที่ใหม่ (new geographical areas) เช่น ซาร์ส • 3. โรคติดต่ออุบัติซ้ำ (Re-emerging infectious diseases) เช่น กาฬโรค • 4. เชื้อโรคดื้อยา (Antimicrobial resistant organism) • 5. อาวุธชีวภาพ (Deliberate use of bio-weapons) • ใช้เชื้อโรคหลายชนิดผลิตเป็นอาวุธ เช่น เชื้อแอนแทรกซ์ ไข้ทรพิษ
ผลกระทบจากโรคติดต่ออุบัติใหม่ผลกระทบจากโรคติดต่ออุบัติใหม่ • ความเสี่ยงที่จะเกิดการกลายพันธุ์ ก่อให้เกิดการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ในคนที่มีความรุนแรงมากขึ้น • ธรรมชาติของโรค ที่มักไม่สามารถคาดการณ์ขนาดของปัญหาและช่วงเวลาการเกิดโรคได้ • ความรู้และข้อมูลข่าวสารของปัญหา ยังไม่ชัดเจนในระยะต้น จึงทำให้เกิดความตื่นตระหนกในหมู่ประชาชนทั่วไปและบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้ง่าย • เป็นภัยสาธารณสุขที่ก่อให้เกิดความสูญเสียต่อสุขภาพ ชีวิตและเศรษฐกิจของประเทศอย่างมหาศาล
สาเหตุการเกิดโรคติดเชื้ออุบัติใหม่และโรคติดเชื้ออุบัติซ้ำสาเหตุการเกิดโรคติดเชื้ออุบัติใหม่และโรคติดเชื้ออุบัติซ้ำ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอุบัติการณ์ของโรคปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอุบัติการณ์ของโรค เชื้อโรค (AGENT) • วิวัฒนาการของเชื้อโรค (การปรับตัว & การเปลี่ยนแปลง) • พัฒนาการที่ดื้อต่อยามากขึ้น • การดื้อต่อสารเคมีที่ใช้กำจัดแมลง (pesticides) ของพาหะ(vectors)
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอุบัติการณ์ของโรคปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอุบัติการณ์ของโรค โฮสต์ (HOST) • การเปลี่ยนแปลงทางลักษณะของประชากร (การอพยพย้ายที่อยู่ใหม่การเดินทางระหว่างประเทศ ท่องเที่ยว การค้า การไร้ที่อยู่) • พฤติกรรมของมนุษย์การเปลี่ยนแปลงด้านวิถีชีวิต (lifestyle)(เพศสัมพันธ์การใช้ยาการบริโภคอาหาร ) • ความไวรับของมนุษย์ต่อการติดเชื้อ (ภูมิต้านทานลดลง) • ความยากจน และ ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม การขาดความรู้
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอุบัติการณ์ของโรคปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอุบัติการณ์ของโรค สิ่งแวดล้อม (Environment) • การเปลี่ยนแปลงทางสภาวะภูมิอากาศ ภาวะโลกร้อน & การเปลี่ยนแปลงทางระบบนิเวศวิทยา • การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ & การใช้ที่ดิน (ความเป็นเมือง, การตัดไม้ทำลายป่า) • เทคโนโลยี & อุตสาหกรรม (กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับอาหาร & การสัมผัส รวมทั้ง การเตรียมอาหาร) • การเมือง (การคอรับชั่น การให้ความสำคัญกับด้านอื่นมากกว่าสุขภาพ) สงคราม ความไม่สงบ การก่อการร้าย
การเดินทางท่องเที่ยวระหว่างประเทศและการค้าขายการเดินทางท่องเที่ยวระหว่างประเทศและการค้าขาย • การล่มสลายของของมาตรการด้านสาธารณสุข (สงคราม, ความไม่สงบ, ความแออัด) • ระบบเฝ้าระวังที่ไม่ดี (การเมืองไม่เห็นความสำคัญ)
การติดต่อของเชื้อจากสัตว์สู่คนการติดต่อของเชื้อจากสัตว์สู่คน • >2/3rdของโรคติดต่ออุบัติใหม่มาจากสัตว์ : สัตว์ป่า สัตว์ที่เลี้ยงตามบ้านเรือน ( wild & domestic animals) • การอุบัติของโรคไข้หวัดใหญ่ในมนุษย์มีความสัมพันธ์กับสัตว์ปีก หมู • การอพยพของสัตว์เพื่อหาอาหารหลังจาการทำลาย/การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ ( เช่น Lassa fever) • มนุษย์บุกรุก/ขยายพื้นที่เข้าไปใกล้กับแหล่งของสัตว์รังโรค/พาหะของโรคมากขึ้น (เช่น Yellow fever, Malaria)
Key Tasks in Dealing with Emerging Diseases • Surveillance at national, regional, global level • epidemiological, • laboratory • ecological • anthropological • Investigation and early control measures • Implement prevention measures • behavioural, political, environmental • Monitoring, evaluation
National surveillance:current situation • Independent vertical control programmes • Surveillance gaps for important diseases • Limited capacity in field epidemiology, laboratory diagnostic testing, rapid field investigations • Inappropriate case definitions
Regional Key tasks - carried out by whom? Global Synergy National
What skills are needed? Public Health Infectious diseases Telecom. & Informatics International field experience Laboratory Epidemio- logy Information management Multiple expertise needed !
The Best Defense (Multi-factorial) • Coordinated, well-prepared, well-equipped PH systems • Partnerships- clinicians, laboritarians & PH agencies • Improved methods for detection & surveillance