360 likes | 761 Views
ขั้นตอนการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาการใช้ความ รุนแรง ต่อ เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และ คน พิการ. ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และบุคคลในครอบครัว. 3. 1. 2. 3. - บำบัดรักษา ฟื้นฟู เยียวยาร่างกายและจิตใจ. การแพทย์ สธ.
E N D
ขั้นตอนการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ
ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และบุคคลในครอบครัว 3 1 2 3 • - บำบัดรักษา • ฟื้นฟู เยียวยาร่างกายและจิตใจ การแพทย์ สธ. พม. ส่งต่อ Case ไปรับบริการตามสภาพปัญหา 1.แจ้งด้วยตนเอง สังคม • - จัดหาที่พักชั่วคราว (พม.) • - ให้บริการสังคมสงเคราะห์ (พม.) • ดูแลด้านการศึกษา(ศธ./พม.) • ฝึกอาชีพ/ จัดหางาน (รง./ พม.) ภายใน 24 ชม. 2. โทร 1300 3. แจ้งผ่านทางเว็บไซต์ หน่วยให้บริการ พมจ./ ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทำ ความรุนแรงในครอบครัว ประสาน พนง.จนท.ตาม พ.ร.บ. ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม สตช./ยธ./อัยการ/ พม. - เรียกร้องสิทธิ - คุ้มครองสวัสดิภาพผู้ถูกกระทำ - ดำเนินคดีผู้กระทำผิด 4 ติดตาม/ ประเมินผล พม. 2 3 3 5 ยุติ/ ปรับแผน การช่วยเหลือ กรณีชาวต่างชาติถูกทำร้ายร่างกายหรือถูกล่วงละเมิด ทางเพศ พม. สตช. สถานทูต /สถานกงสุล (ประเทศผู้ประสบปัญหา)
ขั้นตอนการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาขั้นตอนการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหา • การรับแจ้งเหตุ/เบาะแส • การช่วยเหลือ • การส่งต่อ • การติดตามและประเมินผล • การยุติการให้บริการหรือปิด Case
ขั้นตอนที่ 1 การรับเรื่อง • เดินทางมาติดต่อด้วยตนเอง • โทรศัพท์มาติดต่อ • แจ้งผ่านเว็บไซต์ www.osccthailand.go.th • แจ้งผ่าน Mobile Application
การคัดกรองประเด็น “ความรุนแรง” • การกระทำที่ประสงค์ให้เกิดอันตราย ต่อ - ร่างกาย - จิตใจ - สุขภาพ • เป็นผลให้เกิดความทุกข์ทรมาน แก่ผู้ถูกกระทำ
ผลการกระทำ การกระทำ • ทุบตี • ข่มขืน • ลวนลามทางเพศ • ข่มขู่ • คุกคาม • ทอดทิ้ง/ไม่ดูแล • ฯลฯ เกิดความ ทุกข์ทรมาน แก่ผู้ถูกกระทำ
นิยามคือ • เด็ก คือบุคคลที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์ • สตรี คือ บุคคลที่เป็นเพศหญิง • ผู้สูงอายุ คือ บุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป • คนพิการ คือ บุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพร่องทางด้านร่างกาย การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจอารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา และการเรียนรู้หรือความบกพร่องอื่นใด
ความรุนแรงเกิดได้กับ • บุคคลในครอบครัว • บุคคลนอกครอบครัว
ผู้ถูกกระทำ • บุคคลนอกครอบครัว • บุคคลในครอบครัว บุคคลตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 มาตรา 3 หมายถึง คู่สมรส คู่สมรสเดิม ผู้ที่อยู่กินหรือเคยอยู่กินฉันสามีภริยาโดยมิได้จดทะเบียนสมรส บุตร บุตรบุญธรรม สมาชิกในครอบครัวรวมทั้งบุคคลใดๆ ที่ต้องพึ่งพาอาศัยและอยู่ในครัวเรือนเดียวกัน
ขั้นตอนที่ 2การช่วยเหลือ เจ้าภาพหลัก (Front Line 1 และFront Line2) • กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทำความรุนแรงในครอบครัว สำนักป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้าหญิงและเด็ก กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ 1. Log in OSCC Application 2. ตรวจสอบและรวบรวม - ทุกเรื่อง - ความรุนแรง • ส่วนภูมิภาค : สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ๗๖ จังหวัด - ทราบถึงพื้นที่การแบ่ง Zoning Case Manager
Front line 1จะต้องทำอะไร • รับ • รวบรวม • คัดกรอง • บันทึก - ข้อมูลพื้นฐาน - ดำเนินงานเบื้องต้น • ส่ง Front Line 2
Front line 1 จะต้องทำอะไร 1.1 พมจ. FL1 - Fact Finding - Key เข้าระบบ 1.2 บพด. FL2 -ช่วยเหลือ - ส่งต่อ - ติดตาม - ยุติการช่วยเหลือ
Front line 1 จะต้องทำอะไร 1.3หน่วยงานอื่นๆ โรงพยาบาล - FL1 - FL2 ให้บริการร่วม เช่น รักษาพยาบาลร่างกาย / ปัญหาจิตใจ - ปิดเคสKey เข้าระบบ สถานีตำรวจ - FL1 - FL2 ให้บริการร่วม เช่น บันทึกประจำวัน รวบรวมพยานหลักฐาน ดำเนินคดี ตามกระบวนการ - ปิด Case Key เข้าระบบ แรงงาน - FL1 แจ้งไปยัง พมจ. FL2
Front line 2จะต้องทำอะไร • ให้บริการ • ร่วมดำเนินการ • ประสานแจ้ง รับ – ส่งต่อ การให้บริการ • บันทึกการให้บริการเบื้องต้น - แจ้งเจ้าหน้าที่ - ส่งเข้ารับบริการ
กรณีเด็ก พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 • มาตรา 41 พนักงานเจ้าหน้าที่/พนักงานฝ่ายปกครอง สามารถแยกเด็กออกจากครอบครัว คุ้มครองสวัสดิภาพ • มาตรา 42 สามารถส่งตัวไปสถานแรกรับ สถานพัฒนาและฟื้นฟูเด็ก และสถานที่รับได้ไม่เกิน 7 วัน ไม่เกิน 30 วัน
กรณีผู้ถูกกระทำเป็นบุคคลในครอบครัวกรณีผู้ถูกกระทำเป็นบุคคลในครอบครัว พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 • มาตรา 6 พนักงานเจ้าหน้าที่ คุ้มครองเบื้องต้น พบแพทย์ รักษาร่างกาย รับคำนำนำจากจิตแพทย์ นักจิตวิทยา • นักสังคมสงเคราะห์ รักษาร่างกาย แจ้งสิทธิ ร้องทุกข์ ไม่ร้องทุกข์
ไม่ร้องทุกข์ • พนักงานเจ้าหน้าที่ประเมินความเสี่ยงที่จะถูกกระทำซ้ำ • ถ้าเสี่ยง ต้อง ส่งเข้าคุ้มครองสวัสดิภาพ - กรณีผู้ถูกกระทำเป็นเด็ก พรบ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 มาตรา 43 - กรณีผู้ถูกกระทำเป็นบุคคลในครอบครัว พรบ.คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 มาตรา 11 • ระหว่างคุ้มครองต้องสืบค้นข้อเท็จจริง รวบรวมเอกสารหลักฐาน • ใช้มาตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้กระทำ - บำบัดยาเสพติดก่อนการยอมความ
ร้องทุกข์ • ร้องขอให้มีคำสั่งคุ้มครองสวัสดิภาพผู้ถูกกระทำ • ศาล/พนง.ชั้นผู้ใหญ่ มีคำสั่งคุ้มครองสวัสดิภาพผู้ถูกกระทำ • ศูนย์ปฏิบัติ/พนง.ติดตามให้มีการปฏิบัติตามคำสั่งฯ • แจ้งผลการปฏิบัติให้ผู้ออกคำสั่งทราบ
ร้องทุกข์ (ต่อ) 2. ไกล่เกลี่ยประนีประนอมโดยกำหนดเงื่อนไข • ทำบันทึกข้อตกลงโดยกำหนดเงื่อนไขให้ปฏิบัติ • ศูนย์ปฏิบัติ/พนง.ติดตามให้มีการปฏิบัติตามคำสั่งฯ • แจ้งผลการปฏิบัติให้พงส. หรือศาลทราบ - ให้ถอนฟ้องหรือถอนคำร้องทุกข์ กรณี ปฏิบัติตามเงื่อนไขครบถ้วน - ยกคดีขึ้นดำเนินต่อ กรณีฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติ ตามเงื่อนไข
ร้องทุกข์ (ต่อ) 3. ศาลพิพากษา กรณีไม่มีการยอมความ • ศาลพิพากษาโดยให้ใช้วิธีอื่นแทนการลงโทษ • ศูนย์ปฏิบัติ/พนง.ติดตามให้มีการปฏิบัติตามคำสั่งฯ • แจ้งผลการปฏิบัติตามคำพิพากษาให้ศาลทราบ
ขั้นตอนที่ 3การส่งต่อ • สอบข้อเท็จจริงและพิจารณาให้ความช่วยเหลือ • วิเคราะห์ case ว่าเป็นความรุนแรงประเภทใด กระทำต่อใคร • ประสานแจ้งผู้มีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย • ประสานและสนับสนุนการดำเนินการของพนักงานเจ้าหน้าที่ • สนับสนุนทีมสหวิชาชีพวางแผนดำเนินงาน หรือ ส่งต่อเครือข่าย
ขั้นตอนที่ 4การติดตามและประเมินผล • เพื่อประเมินความเสี่ยงการถูกกระทำซ้ำ • รายงานผลการดำเนินการโดยบันทึกข้อมูลลงในระบบ
ขั้นตอนที่ 5 การยุติการให้บริการหรือปิด Case • ผู้ประสบปัญหาสามารถกลับคืนสู่สังคม ครอบครัว • ไม่มีความเสี่ยงในการถูกกระทำซ้ำ • มีการวางและปรับแผนการให้บริการ โดยบันทึกข้อมูลลงในระบบ • กรณีที่อยู่ในระหว่างดำเนินคดีในชั้นศาล และไม่ต้องมีการส่งต่อ Case ไปรับบริการจากหน่วยงานอื่นอีก • ให้หน่วยงานเจ้าภาพหลักทำการยุติการให้บริการ (ปิดCase)
ผู้เสียหายที่เป็นชาวต่างชาติผู้เสียหายที่เป็นชาวต่างชาติ • FL1ส่งตัวผู้เสียหายให้สถานีตำรวจในพื้นที่ที่เกิดเหตุ • พนักงานสอบสวนสอบข้อเท็จจริงแล้วให้แจ้งสถานฑูต • ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทำความรุนแรงในครอบครัวทั้งในกรุงเทพมหานครและส่วนภูมิภาค ติดตาม/ประเมินผลการให้ความช่วยเหลือของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และยุติการบันทึกข้อมูล
ระบบแจ้งเตือน (Alarm) • เตือนเพื่อให้ทราบว่ามี Case OSCC • เตือนเพื่อให้ทราบว่าบริการล่าช้า • เตือนเพื่อให้ทราบว่าเจ้าภาพหลักยุติการให้บริการ Case
ระบบแจ้งเตือน (Alarm) Case OSCC • ขั้นตอนที่1การรับแจ้งเหตุ/เบาะแส(24 ชั่วโมง) • แจ้งเตือนไปที่หัวหน้าหน่วยงานที่รับแจ้งเหตุ • ครั้งที่ 1 ไปที่ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น • ครั้งที่ 2ไปที่ท้องถิ่นจังหวัด • ครั้งที่ 3ไปที่พัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์จังหวัดในพื้นที่ ผู้ว่าราชการจังหวัด
ระบบแจ้งเตือน (Alarm)Case OSCC • ขั้นตอนที่ 2 การให้การช่วยเหลือ(7 วัน) - หน่วยงานเจ้าภาพหลักให้บริการเกินกว่าระยะเวลาที่กำหนด • หน่วยงานให้บริการที่มิใช่เจ้าภาพหลัก ใน กทม. ครั้งที่ 1 เตือน ผอ.ศูนย์ปฏิบัติการฯ ครั้งที่ 2 เตือน ผอ.สปป. ครั้งที่ 3 เตือน รองอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ภูมิภาค ครั้งที่ 1 เตือน พมจ. ครั้งที่ 2 เตือน ผู้ว่าราชการจังหวัด ครั้งที่ 3 เตือน สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
ระบบแจ้งเตือน (Alarm)เมื่อยุติการช่วยเหลือ • ระดับหน่วยงานรับแจ้งเหตุ/เบาะแส (Front line 1) • ระดับหน่วยงานเจ้าภาพหลัก (Front line 2) • หน่วยงานกลางที่ทำหน้าที่กำกับ ติดตาม ผลการดำเนินงานของ OSCC - ระดับจังหวัด : พมจ. - ระดับประเทศ : สนย. สป. พม. กำกับ ติดตามผล นำเสนอผู้บริหารของกระทรวง • ศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี (PMOC) โดย ICT เชื่อมโยง
จบการนำเสนอ ..ขอขอบคุณ ..