280 likes | 477 Views
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะวิชา โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ครั้งที่ 2. คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. พี่เลี้ยงโครงการฯ :. ศ.นพ.สงวนสิน รัตนเลิศ ศ.นพ.บวรศิลป์ เชาวน์ชื่น. คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น. ITFD : RMUTP.
E N D
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะวิชาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะวิชา โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ครั้งที่ 2 คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร พี่เลี้ยงโครงการฯ : • ศ.นพ.สงวนสิน รัตนเลิศ • ศ.นพ.บวรศิลป์ เชาวน์ชื่น คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
หัวข้อในการนำเสนอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
พบความท้าทายอะไรบ้าง เมื่อใช้แนวทางการประเมินของ EdPEx มี Gap อะไร……..
การดำเนินงานของ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอฯ การดำเนินการภายใต้เกณฑ์คุณภาพ ประเมินตนเองภายใต้ภายใต้เกณฑ์คุณภาพ ระบุจุดที่ต้องพัฒนา จัดทำโครงร่างองค์การ จัดทำแผนพัฒนาให้สอดคล้อง ระบุตัวชีวัดที่เป็นผลลัพธ์ให้ชัดเจน จัดทำแผนพัฒนาตามความท้าทาย ดำเนินการปรับปรุงตามแผนที่กำหนด ดำเนินการพัฒนาตามแผนที่กำหนด วัดผลการปรับปรุง คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
ความสำคัญของการเริ่มต้นด้วยโครงร่างองค์การความสำคัญของการเริ่มต้นด้วยโครงร่างองค์การ เป็นจุดเริ่มต้นที่เหมาะสมที่สุดในการตรวจประเมินองค์การด้วยตนเอง ช่วยในการระบุสารสนเทศสำคัญที่อาจขาดหายไป และมุ่งเน้นที่ความต้องการ/ข้อกำหนดและผลลัพธ์การดำเนินการที่สำคัญ ผู้ตรวจประเมินใช้โครงร่างองค์การนี้ในการตรวจประเมินรายงานวิธีการและผลการ ดำเนินงาน องค์กรอาจนำโครงร่างองค์การมาใช้เพื่อการประเมินตนเองเบื้องต้น หากพบว่ามีประเด็นใดมีน้อยหรือไม่มีเลย องค์การสามารถใช้ประเด็นเหล่านี้ในการวางแผนปฏิบัติการได้โดยยังไม่ต้องประเมินต่อให้เต็มรูปแบบ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
เป้าประสงค์ของคณะฯ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
เป้าหมายการดำเนินงานของคณะฯเป้าหมายการดำเนินงานของคณะฯ 1. สร้างหลักสูตรบัณฑิตศึกษาเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 ของหลักสูตรทั้งหมดภายในปี 2565 2. นำงานวิจัย / สิ่งประดิษฐ์ / นวัตกรรม และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยใช้ในการจัดการ เรียนการสอนทุกหลักสูตรภายในปี 2565 3. สร้างหลักสูตรนานาชาติ 3 หลักสูตร ภายในปี 2565 4. ความร่วมมือทางวิชาการทั้งในและต่างประเทศทุกคณะภายในปี 2565 5. มีงานบริการวิชาการ/วิชาชีพ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม รวมทั้ถ่ายทอดความรู้และ เทคโนโลยี สู่ชุมชนอย่างน้อย 3 อาชีพ 3 ชุมชน ต่อปี 6. การอนุรักษ์ สืบสาน บูรณาการ สร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมไทย และสิ่งแวดล้อมที่โดดเด่น จำนวน 5 โครงการต่อปี 7. พัฒนาคุณวุฒิอาจารย์ในสัดส่วนปริญญาตรี:โท:เอก เท่ากับ 0:80:20 ภายในปี 2565 8. ตำแหน่งทางวิชาการสัดส่วน อ:ผศ.:รศ.:ศ เท่ากับ 5:85:9:1 ภายในปี 2565 9. สัดส่วนนักศึกษา ป.ตรี:ป.โท:ป.เอก เท่ากับ 80:18:2 ภายในปี 2565 10. มีการแลกเปลี่ยนอาจารย์และนักศึกษากับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
เป้าหมายการดำเนินงานของคณะฯ(ต่อ)เป้าหมายการดำเนินงานของคณะฯ(ต่อ) 11. ผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพถึงพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ ที่สอดคล้องกับความต้องการและความพึงพอใจของสังคม 12. พัฒนาอาจารย์และนักศึกษาโดยความร่วมมือทางวิชาการและวิชาชีพกับสถานประกอบการทั้งในและ/หรือต่างประเทศ 13. อาจารย์และนักศึกษามีผลงานที่ได้รับรางวัลระดับชาติและระดับนานาชาติอย่างน้อย 1 รางวัลต่อปี 14. สร้างศูนย์องค์ความรู้ / นวัตกรรมเพื่อพัฒนาวงการวิชาชีพ 15. สัดส่วนงานวิจัยถ่ายทอดเทคโนโลยี : สร้างองค์ความรู้ เท่ากับ 70:30 ภายในปี 2565 16. งานวิจัย / สิ่งประดิษฐ์ / นวัตกรรม ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาหรือสิทธิบัตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 ของงานวิจัยฯทั้งหมดภายในปี 2565 17. งานวิจัย / สิ่งประดิษฐ์ / นวัตกรรม เผยแพร่หรือถ่ายทอด ในระดับชาติและ/หรือนานาชาติ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของงานวิจัยฯทั้งหมดภายในปี 2565 18. นำ งานวิจัย / สิ่งประดิษฐ์ / นวัตกรรม ไปใช้ประโยชน์ในเชิงสังคมและในเชิงพาณิชย์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของงานวิจัยฯทั้งหมดภายในปี 2565 คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
ความท้าทาย คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
จุดอ่อน (Weaknesses) 1. สัดส่วนคุณวุฒิและตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 2. อาจารย์ผู้สอนต้องปฏิบัติหน้าที่ในงานสนับสนุนทำให้เกิดผลกระทบต่อการทำงานทาง วิชาการและงานวิจัย 3. การบริหารจัดการระบบสารสนเทศยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร 4. ผู้บริหารและบุคลากรบางส่วนขาดแนวคิดเชิงรุก และกระบวนทัศน์ใหม่ในการแก้ปัญหา 5. สถานที่จำกัด ทำให้การขยายตัวเป็นไปได้ยาก 6. ความร่วมมืองานวิจัยกับหน่วยงานภายนอกมีปริมาณน้อย 7. งานบริการวิชาการแก่สังคมขาดแหล่งเงินทุนสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก 8. ขาดศักยภาพในระบบการบริหารจัดการด้านจัดหารายได้อย่างชัดเจน คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ :การพัฒนาหลักสูตรเพื่อตอบสนองความต้องการด้าน สิ่งทอและแฟชั่น วัตถุประสงค์ :เพื่อผลิตหลักสูตรที่สามารถตอบสนองความต้องการด้านสิ่งทอและ แฟชั่นให้เป็นที่ยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ 1.โครงการพัฒนาหลักสูตรสิ่งทอและแฟชั่น 1.1 การพัฒนาหลักสูตร ป.ตรี ให้สอดคล้องกับสถานประกอบการ 1.2 จัดทำรายละเอียดของหลักสูตรและเปิดหลักสูตรปริญญาโท 1.3 พัฒนาและส่งเสริมบุคคลากรให้มีคุณวุฒิและความสามารถตรงตามหลักสูตรที่เปิดสอน 1.4 เตรียมความพร้อมของสถานที่ ครุภัณฑ์ สื่อการเรียนการสอน 1.5 เตรียมฐานข้อมูล วารสาร หนังสือ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งทอและแฟชั่น 1.6 จัดทำรายละเอียดของหลักสูตรและเปิดหลักสูตรปริญญาโทนานาชาติ 2. โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการทั้งในและต่างประเทศ 3. โครงการเปิดอบรมหลักสูตรระยะสั้นทางด้านสิ่งทอและแฟชั่นให้กับบุคคลทั่วไป คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ : สร้างแหล่งความรู้และนวัตกรรม เพื่อพัฒนาวงการ วิชาชีพสิ่งทอและแฟชั่น วัตถุประสงค์ :เพื่อสร้างแหล่งองค์ความรู้ที่บุคคลเข้าถึงได้ 1. ศูนย์ความรู้ด้านสิ่งทอและแฟชั่น 2. ห้องสมุดเฉพาะทางด้านสิ่งทอและแฟชั่น 3. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการมีส่วนร่วมของนักศึกษา 4. โครงการผลิตตำราเรียน คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ : การสร้างค่านิยมทางการศึกษาด้านสิ่งทอและแฟชั่น วัตถุประสงค์ : เพื่อสร้างค่านิยมทางการศึกษาด้านสิ่งทอและแฟชั่น 1. โครงการสร้างค่านิยมทางการศึกษาเชิงรุกเพื่อการพัฒนาคณะอุตสาหกรรม สิ่งทอและออกแบบแฟชั่น 1.1 การปลูกจิตสำนึกสร้างค่านิยมทางด้านแฟชั่นและสิ่งทอกับศิลปวัฒนธรรม 1.2 ความร่วมมือในการปรับภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมให้เข้ากับอัตลักษณ์ของคณะฯ 1.3 การจัดค่ายเรียนรู้ด้านสิ่งทอและแฟชั่น 1.4 เปิดบ้านการเรียนรู้ (Open House) 1.5 จัดทำสื่อ Online ด้านสิ่งทอและแฟชั่น 1.6 ประชาสัมพันธ์และแนะแนวเชิงรุก 2. โครงการจัดทำวารสารสิ่งทอและแฟชั่น ในระดับชาติ และระดับนานาชาติ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ : ความร่วมมือภาคีเครือข่ายชุมชน ภาครัฐ และ ภาคเอกชนแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ วัตถุประสงค์ : เพื่อสร้างความร่วมมือภาคีเครือข่ายชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน แบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ • 1. โครงการความร่วมมือภาคีเครือข่ายชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน • 2. โครงการวิจัยเพื่อนำไปสู่ นวัตกรรมทางสิ่งทอและแฟชั่น2.1 การจัดตั้งทีมวิจัยภายในองค์กร • 2.2 สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านงานวิจัยกับภาครัฐและ เอกชน • 2.3 สร้างเครือข่ายการให้ความรู้ด้านมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
แผนที่นำเสนอปิด Gap ในเรื่องใด….
ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ :การพัฒนาหลักสูตรเพื่อตอบสนองความต้องการ ด้านสิ่งทอและแฟชั่น คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ : สร้างแหล่งความรู้และนวัตกรรม เพื่อพัฒนาวงการ วิชาชีพสิ่งทอและแฟชั่น คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ : การสร้างค่านิยมทางการศึกษาด้านสิ่งทอและแฟชั่น คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ : ความร่วมมือภาคีเครือข่ายชุมชน ภาครัฐและ ภาคเอกชนแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
แผนช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอะไร คาดหวังเปลี่ยนแปลงอะไร หรือไปปรับปรุงอะไร…..
การนำองค์การ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
การมุ่งเน้นลูกค้า คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
การวัดผล การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
การมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงานการมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
การจัดการกระบวนการ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP
ตัวชี้วัดผลการปรับปรุงคืออะไร ผลการปรับปรุงจะ maintain ไว้ได้อย่างไร หรือช่วยให้คณะมุ่งสู่ความเป็นเลิศทางด้านใด….
ตัวชี้วัดผลการปรับปรุงตัวชี้วัดผลการปรับปรุง คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ITFD : RMUTP