1 / 10

วาต ภัย

วาต ภัย. (สรุป) ผลกระทบ. ต้นไม้ล้มถอนรากถอนโคน เรือกสวน ไร่นาเสียหาย เสาไฟฟ้าล้ม สายไฟฟ้าขาด ไฟ ฟ้าช๊อต อาจเกิดเพลิงไหม้ได้ บ้านเรือนที่ไม่แข็งแรงพังทลาย ชิ้นส่วนของบ้านถูกลมพายุพัดปลิว เป็นอันตรายต่อผู้ที่อยู่ในที่โล่งแจ้ง บ้านเรือน และผู้คนที่พักอาศัยริมทะเลอาจถูกคลื่นใหญ่ซัดและม้วนลงทะเล

moses
Download Presentation

วาต ภัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วาตภัย

  2. (สรุป) ผลกระทบ • ต้นไม้ล้มถอนรากถอนโคนเรือกสวน ไร่นาเสียหาย เสาไฟฟ้าล้ม สายไฟฟ้าขาด ไฟฟ้าช๊อต อาจเกิดเพลิงไหม้ได้ • บ้านเรือนที่ไม่แข็งแรงพังทลาย ชิ้นส่วนของบ้านถูกลมพายุพัดปลิว เป็นอันตรายต่อผู้ที่อยู่ในที่โล่งแจ้ง บ้านเรือน และผู้คนที่พักอาศัยริมทะเลอาจถูกคลื่นใหญ่ซัดและม้วนลงทะเล • ฝนตกหนักมากทั้งวันทั้งคืน จนทำให้เกิดน้ำป่าและแผ่นดินถล่ม • ในทะเลมีคลื่นลมแรงจัดมากเป็นอันตรายต่อการเดินเรือ โดยเฉพาะเรือเล็ก และอาจมีคลื่นใหญ่ซัดชายฝั่ง ทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นมากจนท่วมอาคารบ้านเรือนริมทะเลได้

  3. (สรุป) การรับมือและป้องกัน ข้อควรจำ 1. เมื่อมีการแจ้งเฝ้าระวัง หมายถึงพายุที่จะมาภายใน 36 ชั่วโมง 2. เมื่อมีการแจ้งเตือนภัย หมายถึง พายุที่จะมาถึง ภายใน 24 ชั่วโมง 3. เมื่อเกิดพายุ จะมีฝนตกหนัก และอาจเกิดน้ำท่วมฉับพลัน 4. ปรากฏการณ์ศูนย์กลางพายุ คือ เมื่อเกิดพายุแล้วแต่มีลมสงบฉับพลัน หมายถึงท่านอยู่ในศูนย์กลางของพายุ และจะมีพายุตามมาอีกครั้งหนึ่ง

  4. (สรุป) การรับมือและป้องกัน (ต่อ) ข้อควรปฏิบัติ • ติดตามข่าวสารทางวิทยุและโทรทัศน์ • หลบอยู่ในที่กำบังที่มั่นคง อยู่บนที่สูงที่น้ำท่วมไม่ถึง และอย่าออกเรือ 3. เตรียมชุดยังชีพ และชุดอุปกรณ์หนีภัย 4. ตัดต้นไม้สูงไม่ให้ล้มทับบ้าน 5. ติดตั้งอุปกรณ์เสริมความแข็งแรงของหน้าต่าง 6. เก็บตุนอาหาร น้ำดื่ม และถ่านไฟฉาย 7. เติมน้ำมันรถไว้ให้เต็ม เตรียมแผนอพยพ

  5. (สรุป) การรับมือและป้องกัน (ต่อ) 8. เมื่อมีประกาศอพยพ ให้อพยพทันทีอย่าลังเล เพราะจะหนีภัยไม่ทัน 9. มีเบอร์โทรศัพท์ที่ต้องติดต่อในกรณีฉุกเฉิน

  6. (สรุป) การรับมือและป้องกัน (ต่อ) วิธีการปฏิบัติ 1. ถ้ามีประกาศให้อพยพ ให้อพยพไปสู่ที่ที่ทางการจัดเตรียมให้ 2. เมื่อได้ยินสัญญาณไซเรน ให้อพยพ ก่อนออกจากบ้านให้ปิดประตูหน้าต่างให้แน่นหนาพร้อมปิดเทปแนวประตูหน้าต่าง 3. ออกจากพื้นที่น้ำท่วมไปสู่พื้นที่สูงที่ปลอดภัย 4. เมื่อมีลมแรงให้อยู่ภายในกำบังที่มั่นคง 5. ให้คำนึงถึงปรากฏการณ์ศูนย์กลางพายุ อย่ารีบออกจากที่กำบังจนกว่าจะแน่ใจหรือได้รับข้อมูลสถานการณ์ปลอดภัย

  7. เหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้น วาตภัย ที่แหลมตะลุมพุก จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 24-25 ตุลาคม พ.ศ. 2505

  8. เหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้น วาตภัยที่ จังหวัด ชุมพร เมื่อวันที่ 11-12 ธันวาคม พ.ศ.2472

  9. เหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้น พายุไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน ประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556

  10. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/5 • นาย ธนาธิป เพิ่มเจริญ เลขที่ 2 • นาย อภิสิทธิ์ เดชวรรณ เลขที่ 4 • นางสาว บัวสวรรค์ บุญมาวงษา เลขที่ 26 • นางสาว เบญจมาศ อานันทนะรักษ์ เลขที่ 27 • นางสาว พัณณ์ชิตา เจริญมโนจรัสกุล เลขที่ 30 • นางสาว เสาวรส เล็กเงาดี เลขที่ 32

More Related