1 / 16

บทที่ 2

บทที่ 2. ภาษาปาลคาลเบื้องต้น. 2.1 นิยามพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง. จำนวนเต็ม ( Integer ) จำนวนจริง ( Real ) คำสงวน ( Reserved Word ) ไอเดนติฟายเออร์ ( Indentifier ) ค่าคงที่ ( Constant ) ตัวแปร ( Variable ) นิพจน์ ( Expression ). แผนภาพไวยากรณ์ของภาษาปาสคาล.

Download Presentation

บทที่ 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น

  2. 2.1 นิยามพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง • จำนวนเต็ม (Integer) • จำนวนจริง (Real) • คำสงวน (Reserved Word) • ไอเดนติฟายเออร์ (Indentifier) • ค่าคงที่ (Constant) • ตัวแปร (Variable) • นิพจน์ (Expression)

  3. แผนภาพไวยากรณ์ของภาษาปาสคาลแผนภาพไวยากรณ์ของภาษาปาสคาล • จากแผนภาพ ลักษณะที่สามารถเป็นไปได้ • A • ABC • ABBC • ABB…C

  4. 2.2 ชนิดของข้อมูลเบื้องต้น มี 4 ชนิด คือ • Integer • Real • Boolean • Char

  5. 2.3 รูปแบบโครงสร้างของโปรแกรมภาษาปาสคาล แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ • ส่วนหัวโปรแกรม (Program Heading Part)

  6. ส่วนการประกาศ (Declaration Part) • การกำหนดค่าคงที่

  7. การประกาศตัวแปร • การประกาศรายชื่อชนิดของข้อมูล • การประกาศโปรแกรมย่อยมี 2 ประเภทคือ function และ procedure

  8. ส่วนคำสั่งการทำงาน (Statement Part)

  9. ตัวอย่างโปรแกรม PROGRAM example1(input,output); CONST A = 0.5; VAR B,C,Area : Real; BEGIN Write(“Entry input A,B :”); Readln(B,C); Area := A*B*C; Writeln(“Area = ”, Area); END.

  10. 2.4 เครื่องหมายที่ใช้ในภาษาปาสคาล(Operators) • เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operators) เช่น +, - , *, /, DIV, MOD • เครื่องหมายเปรียบเทียบ (Comparison Operators) เช่น มากกว่า, น้อยกว่า, มากกว่าหรือเท่ากับ เป็นต้น • เครื่องหมายตรรกะ (Logical Operators) เช่น AND, OR, NOT เป็นต้น

  11. 2.5 ลำดับการทำงานของเครื่องหมายต่าง ๆ ได้แก่ • NOT, ติดลบ • AND, * , . DIV, MOD • OR, + , - • เครื่องหมายเปรียบเทียบ

  12. 2.6 นิพจน์บูลีน (Boolean Expressions) Relational Operator ความหมาย = เท่ากัน < น้อยกว่า > มากกว่า <= น้อยกว่าหรือเท่ากัน >= มากกว่าหรือเท่ากัน <> ไม่เท่ากับ

  13. 2.7 การจัดการเกี่ยวกับการรับและแสดงผลข้อมูล • INPUT เป็นการรับข้อมูลเข้ามาทำงาน คำสั่งที่ใช้งานคือ READ, READLN

  14. OUTPUT เป็นการแสดงผลออกทางหน้าจอ หรือการนำผลลัพธ์ไปเก็บลงในไฟล์ก็ได้คำสั่งที่ใช้งานคือ WRITE, WRITELN

  15. 2.8 การมอบหมายค่าแก่ตัวแปร Assignment Statement รูปแบบ ชื่อตัวแปรเดี่ยว := นิพจน์ เช่น answer := 5+8*10; X := Y+3; key := ‘X’;

  16. 2.9 ฟังก์ชั่นมาตรฐาน (Standard Function)ที่สำคัญ ภาษาปาสคาลเตรียมฟังชั่นพิเศษ เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรม เช่น SQR, SQRT, SIN, COS เป็นต้น ตัวอย่าง A := Abs(-5); หมายถึงมีการเรียกใช้ฟังก์ชั่นมาตรฐานชื่อ Absolute เพื่อทำการหาค่าสัมบูรณ์ของ –5 ซึ่งมีคำตอบคือ 5 แล้วจึงนำคำตอบไปเก็บไว้ในตัวแปร A

More Related