380 likes | 535 Views
Utility weights study in TOP 5 diseases in Thailand. W. Thanawat MD.,M.P.A. I.Introduction. DALYs calculation needs YLL YLD Instrument SG TTO VAS Multi-attribute questionaires. EQ-5D,EQ-5D+C SF-36 MOS-HIV. II. Quality of life measurement.
E N D
Utility weights study in TOP 5 diseases in Thailand. W. Thanawat MD.,M.P.A.
I.Introduction • DALYs calculation needs • YLL • YLD • Instrument • SG • TTO • VAS • Multi-attribute questionaires. • EQ-5D,EQ-5D+C • SF-36 • MOS-HIV
II. Quality of life measurement • Quality of life was measured by using the EuroQol (EQ-5D) in Thai version (see appendix). The descriptive system of the EQ-5D recorded quality of life in five dimensions: mobility, self-care, usual activities (such as work, study, housework, and family or leisure activities), pain or discomfort, and anxiety-depression. Each dimension is divided into three response levels: no problems, some or moderate problems, and extreme problems or inability to perform the activity. The responses on these five dimensions are weighted on a scale where 0.0 = death and 1.0 = perfect health. • Interviewing technique was used by our trained staffs to accommodate patients to complete this questionnaire.
การศึกษาในผู้ป่วยHIV และเอดส์. • จากที่มีการใช้ยาต้านไวรํส(Anti Retro Viral drug) ในปริมาณมาก จึงมีการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างการใช้ และไม่ใช้ยา และรวมถึงระดับของ CD 4+ lymphocyte ,การติดเชื้อฉวยโอกาส และจำนวนของเชื้อไวรัส(Plasma Viral Load) • Cunningham WE et al(2005)[i]ได้ระบุว่าค่าใช้จ่ายในการรักษา HIV มีความแตกต่างกัน เมื่อ CD4 และระยะของโรคมีความแตกต่างกัน โดยใช้ HR-QOL เป็นตัวเก็บข้อมูล • William C Mathews and Susanne May(2007)[ii]ได้ระบุว่า EQ-5D นั้นเหมาะที่จะใช้เป็นเครื่องมือที่ขะใช้ในการศึกษา คุณภาพชีวิต เรื่องจาก ความกะทัดรัด สะดวกที่จะทำซ้ำ และทำเป็นประจำ และดีสำหรับการศึกษาเปรียบเทียบระหว่าง อรรถประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับค่าใช้จ่ายที่สูญเสียไปในผู้ป่วยติดเชื่อเอชไอวี และภาวะอื่นร่วม • [i] Cunningham WE ,Crystal S, Bozzette S, Hays RD: The association of health-related quality of life with survival among persons with HIV infection in the United States. J Gen Intern Med 2005, • 20(1):21-27. • [ii] William C Mathews and Susanne May: EuroQol (EQ-5D) measure of quality of life predicts mortality,emergency department utilization, and hospital discharge rates in HIV-infected adults under care,Biomed Central 2007
การศึกษาในผู้ป่วยHIV และเอดส์.(2) • มีการศึกษาที่น่าสนใจในการวัดสภาวะสุขภาพที่มีอยู่ในผุ้ป่วย HIV/ADIS โดยเครื่องมือที่ชื่อว่า Medical Outcomes Study HIV Health Survey (MOS-HIV) ซึ่งพัฒนามาจาก SF-20[i]และพัฒนาต่อเป้น 30 หัวข้อในการถาม[ii]เพื่อความสะดวกไม่เยิ่นเย้อในผู้ป่วย HIV[iii]ซึ่งมีการรายงานค่าสหสัมพันธ์ที่ได้จาก MOS-HIV และ EQ-5D,EQ-5D-VAS,HUI3 จาก 0.6-0.75 ในขณะที่ EQ-5d และ HUI3 มีค่าเท่ากับ 0.73[iv] • [i] Stewart AL, Hays RD, Ware JE ,Jr. (1988) The MOS short-form general health survey: reliability and validity in a patient population. Medical Care; 26:724-735. • [ii] Wu AW, Rubin HR, Mathews WC, et al. (1991). A health status questionnaire using 30 items from the Medical Outcomes Study: preliminary validation in persons with early HIV infection. Medical Care; 29:786-798. • [iii]Albert W. Wu MOS-HIV Health Survey Users Manual 1999 http://chipts.ucla.edu/assessment/pdf/assessments/MOS-HIV%20Users%20Manual%20%20Draft.pdf • [iv] Joyce, Vilija R MS*; Barnett, Paul G PhD*; Bayoumi, Ahmed M MD, et al. Health-Related Quality of Life in a Randomized Trial of Antiretroviral Therapy for Advanced HIV Disease JAIDS Journal of Acquired Immune Deficiency Syndromes:Volume 50(1)1 January 2009pp 27-36
การศึกษาในผู้ป่วยHIV และเอดส์.(3) • การศึกษาด้านคุรภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อ HIV ในประเทศไทยนั้น ได้เคยมีการศึกาโดยใช้ MOS-HIV ฉบับแปฃ ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งผลออกมาว่า ความ internal consistency and discriminant validity เท่ากับ 93.8 and 97.4% โดยที่ค่าเฉลี่ยของคุณภาพชีวิต อยู่ในช่วง 50.7 - 61.5[i] • [i] Masao Ichikawa1, Chawalit Natpratan Quality of life among people living with HIV/AIDS in northern Thailand: MOS-HIV Health Survey Quality of Life Research 13: 601–610, 2004.
การศึกษาในผู้ป่วยHIV และเอดส์.(4) • ในด้านความสัมพันธ์ของ แต่ละเครื่องมือ มีผู้ทำการศึกษาไว้ ว่าในกลุ่มผู้ป่วย HIV ที่ CD4<100 มีค่าสหสัมพันธ์ของ EQ-5D score กับ HIV-MOS ในระดับย่อย อยู่ที่ 0.45 (ในแง่บทบาท) to 0.63 (ความเจ็บปวด) และ EQ-VAS มีค่าสหสัมพันธ์เท่ากับ 0.33 (การรู้ตัว) ถึง 0.66 (การรับรู้สุขภาพ).[i] • การเปลี่ยนแปลงของค่า EQ-5D ของผู้ป่วย HIV ,แนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงรายสัปดาห์[ii] • [i]Wu A W; Jacobson K L; Frick K D Validity and responsiveness of the euroqol as a measure of health-related quality of life in people enrolled in an AIDS clinical trial.Quality of life research : an international journal of quality of life aspects of treatment, care and rehabilitation 2002;11(3):273-82. • [ii] Kind P. Annu Meet Int Soc Technol Assess Health Care Int Soc Technol Assess Health Care Meet. 1997; 13: 81. http://gateway.nlm.nih.gov/MeetingAbstracts/ma?f=102233086.html
การศึกษาในผู้ป่วยHIV และเอดส์.(5) • การศึกษาได้แบ่งผู้ป่วยออกเป็น 3 กลุ่มย่อยโดยอาศัยนิยามของ WHO ดังนี้ • 1. HIV และยังไม่ปรากฏกลุ่มอาการ AIDs • 2. AIDs และได้รับยาต้านไวรัส • 3. AIDs และไม่ได้รับยาต้านไวรัส • โดยทั้งหมดเป็นไปตามนิยามของ Center of Disease Control(CDC) 1993
การศึกษาในผู้ป่วยHIV และเอดส์.(6) • เครื่องมือที่ใช้ในการสำรวจ คือ EQ-5D เครื่องมือนี้ได้มีการนำไปใช้ในการสอบถามผู้ป่วย HIV และ AIDs[i],[ii],[iii]โดยมีปัจจัยที่น่าศึกษาเพิ่มเติม เนื่องจากอาจมีความแตกต่างของค่าอรรถประโยชน์ในภาวะที่แตกต่างกันเหล่านี้ อันได้แก่ • [i] Delate T, Coons SJ. The use of 2 health-related quality-of life measures in a sample of persons infected with human immunodeficiency virus. Clin Infect Dis 32: E47–E52. • [ii] Wu AW, Jacobson KD, Frick DL, et al. Validity and responsiveness of the Euroqol as a measure of • health-related quality of life in people enrolled in an AIDS clinical trial. Qual Life Res 2002; 11: 273–282. • [iii] Knut Stavem et al. Comparison of preference-based utilities of the 15D, EQ-5D and SF-6D in patients with HIV/AIDS. Quality of Life Research (2005) 14: 971–980
การศึกษาในผู้ป่วยHIV และเอดส์.(7) • 1. การติดเชื้อฉวยโอกาส[i],10. • 2. ระดับของ CD4+ lymphocyte3,7. • 3. ระดับ Plasma viral load3. • 4. จำนวนปีภายหลังการวินิจฉัย[ii] • ผู้วิจัยได้เพิ่มรายละเอียดของโรคติดเชื้อฉวยโอกาส เนื่องจากมีผลต่อระดับของค่าอรรถประโยชน์ เช่นเดียวกับการใช้ HRQOL[iii]. • [i] BARRY D. ROSENFELD, MARY WHITE et al.Making Treatment with HIV Infection.: Decisions A Pilot Study of Patient Preferences. http://umg.umdnj.edu/smdm/pdf/17-03-307.pdf • [ii] Alexander H. Miners, Caroline A. Sabin et al. Health-Related Quality of Life in Individuals • Infected with HIV in the Era of HAART HIV Clin Trials 2001;2(6):484–492 • [iii] Diane Franchi and Richard P. Wenzel. Measuring Health-Related Quality of Life Among Patients Infected with Human Immunodeficiency Virus. Clinical Infectious Diseases 1998;26:20–6
การศึกษาในผู้ป่วยเบาหวานการศึกษาในผู้ป่วยเบาหวาน • การศึกษาของคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยเบาหวาน ในหลาย ๆ การศึกษาจะทำการศึกษาเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น และปัจจัยเสี่ยงที่เป็นตัวเกี่ยวข้อง เช่น ในกลุ่มที่ความเสี่ยง 3-5 ตัวจะมีค่า EQ-5D อยู่ในระดัย 0.792 ในขณะที่ หากมีความเสี่ยงอยุ่ใน 0-2 ตัวจะมีค่า EQ-5D อยู่ในระดับ 0.870[i] • [i] Susan Grandy and Kathleen M Fox EQ-5D visual analog scale and utility index values in individuals with diabetes and at risk for diabetes: Findings from the Study to Help Improve Early evaluation and management of risk factors Leading to Diabetes (SHIELD)Health and Quality of Life Outcomes 2008, 6:18
ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการกำหนดคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวาน • ระยะการเจ็บป่วยของโรคเบาหวาน[i],[ii] • ชนิดของโรคเบาหวาน9. • ช่องทางการให้ยาเพื่อลดระดับน้ำตาล[iii],[iv]. • ระดับของน้ำตาลจากการอดอาหาร(Fasting blood sugar)[v]. • ระดับของน้ำตาลHbA1C13. • ภาวะแทรกซ้อน และการเจ็บป่วยร่วม[vi] • [i] Paul Glasziou*1, Jan Alexander2, Elaine Beller2, Philip Clarke3 and the ADVANCE Collaborative Group. Which health-related quality of life score? A comparison of alternative utility measures in patients with Type 2 diabetes in the ADVANCE trial. Health and Quality of Life Outcomes 2007, 5:21 doi:10.1186/1477-7525-5-21 • [ii] Adrian Bagust and Sophie Beale Modelling EuroQol health-related utility values for diabetic • complications fromCODE-2 data Health Econ. 14: 217–230 (2005). • [iii] Louis S. Matza ฦ Kristina S. Boye ฦ Nicole Yurgin Jessica Brewster-Jordan ฦ Sally Mannix ฦ Jodi M. Shorr ฦ Beth L. Barber Utilities and disutilities for type 2 diabetes treatment-related Attributes Qual Life Res (2007) 16:1251–1265 • [iv] Murali Sundaram1, Jan Kavookjian1, Julie Hicks Patrick2, Lesley-Ann Miller1, S. Suresh Madhavan1 & Virginia (Ginger) Scott Quality of life, health status and clinical outcomes in Type 2 diabetes patients Quality of Life Research (2007) 16: 165–177 • [v] W. KEN REDEKOP, PHD et al. Health-Related Quality of Life and Treatment Satisfaction in Dutch Patients With Type 2 Diabetes Diabetes Care 25:458–463, 2002 • [vi] James E Graham*1, Diane G Stoebner-May2, Glenn V Ostir3,4, Soham Al • Snih1,3, M Kristen Peek3,5, Kyriakos Markides3,5 and Kenneth J Ottenbacher1,3 Health related quality of life in older Mexican Americans with diabetes: A cross-sectional study. Published: 12 July 2007 Health and Quality of Life Outcomes 2007, 5:39
3. การศึกษาในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง • ถึงแม้จำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในประเทศไทยจะมีถึง 286,681 ราย20 แต่ เนื่องจากส่วนหนึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้จะมีโรคความดันโลหิตสูง หรือภาวการณ์เจ็บป่วยอื่น ๆ ร่วมด้วย ทำให้การเลือดศึกษาในโรคหลอดเลือดสมอง บางงานวิจัยจึงศึกษาผ่านโรคอื่น ๆ ที่พบร่วมด้วย หรือในบางงานวิจัยเลือกที่จะศึกษาค่าอรรถประโยชน์ที่เกิดกับผู้ที่ต้องมาดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้
ปัจจัยที่มีความสำคัญและมีส่วนในการเปลี่ยนแปลงค่าอรรถประโยชน์ของผู้ป่วย ดังต่อไปนี้ • ชนิดของโรคหลอดเลือดสมอง[i] • ระยะของการเป็นโรค[ii]. • ปัจจัยเสี่ยง[iii]. • ยาที่ใช้ในการรักษา[iv],[v]. • [i] Caroline Haacke, Astrid Althaus, Annika Spottke, Uwe Siebert, Tobias Back and • Richard Dodel Stroke 2006;37;193-198; originally published online Dec 8, 2005; • [ii] A. Simon Pickard, Jeffrey A. Johnson, David H. Feeny, Ashfaq Shuaib, K.C. Carriere and Abdul M. Nasser. Agreement Between Patient and Proxy Assessments of Health-Related Quality of Life After Stroke Using the EQ-5D and Health Utilities Index Stroke 2004;35;607-612; originally published online Jan 15, 2004; • [iii] Jonathan W. Sturm, Geoffrey A. Donnan, Helen M. Dewey, Richard A. L. Macdonell, Amanda K. Gilligan, Velandai Srikanth and Amanda G. Thrift Quality of Life After Stroke: The North East Melbourne Stroke Incidence Study(NEMESIS). Stroke 2004;35;2340-2345; originally published online Aug 26, 2004; • [iv] Gage BF, Cardinalli AB, Albers GW, Owens DK. Cost-effectiveness of warfarin and aspirin for prophylaxis of stroke in patients with nonvalvular atrial fibrillation. JAMA. 1995;274:1839 –1845. • [v] Marc Fisher, Antithrombotic and Thrombolytic Therapy for Ischemic Stroke. Journal of Thrombosis and ThrombolysisVolume 7, Number 2 / April, 1999
และเนื่องจากตามนิยามของ WHO แล้ว การศึกษานี้จึงตัดผุ้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเหล่านี้ออกไป อันได้แก่ • Transient Ischemic Attack (TIA) • Reversible Ischemic Neurological Deficit (RIND) • กลุ่มอาการทางสมองที่เกิดจากการติดเชื้อทางสมอง และเนื้องอก
4. การศึกษาในผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ • ตามการศึกษาของ Global Burden Of Disease(GBD) ได้แบ่งการบาดเจ็บเป็นไปตามอวัยวะต่าง ๆ เช่น การแตกหักของกะโหลกศีรษะ การแตกหักของกระดูกใบหน้า และอื่น ๆ เป็นต้น • การศึกษานี้จึงใช้เกณฑ์การแบ่งแยกโรคตาม GBD เป็นเกณฑ์ในการแบ่งภาระโรค และเนื่องจากการบาดเจ็บทั้งบนท้องถนน และอุบัติเหตุอื่น ๆ นั้นทำให้เกิดการสูญเสียเทียบเท่ากัน หากเป็นโรคเดียวกัน การศึกษานี้จังเลือกใช้การบาดเจ็บจากทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นจากอุบัติเหตุบนท้องถนน หรือไม่
เนื่องจากในผู้ป่วยหนึ่งคนอาจจะมีการบาดเจ็บมากกว่า 1 ระบบ ทางผู้วิจัยได้ใช้วิธีการทางสถิติเพื่อแยกค่าอรรถประโยชน์ในแต่ละภาวะออกจากกัน จากนั้นจึงไปคำนวณต่อ
5. การศึกษาในผู้ป่วยมะเร็งตับ • เนื่องด้วยจากความซับซ้อนในการรักษาพยาบาลในโรคนี้ ผู้ป่วยที่อยู่ในระหว่างการรักษาจึงมักจะอยู่ในโรงพยาบาลที่มีขนาดใหญ่ และการศึกษาคุณภาพชีวิตนี้ยังมีค่อนข้างจำกัด เนื่องจาก กลุ่มตัวอย่างที่มีไม่มาก และยังมีอายุขัยหลังการรักษาที่ไม่ยาวนาน การเก็บข้อมูลจึงมีความลำบาก • การศึกษานี้แบ่งผู้ป่วยเป็นกลุ่มตาม GBD ได้เป็น 2 กลุ่มคือ • ระยะก่อนระยะสุดท้าย :ตรวจพบการกระจายตัวของโรค(metastatic) • ระยะสุดท้าย :ระยะก่อนเสียชีวิต • และได้เพิ่มปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวผู้ป่วย คือ • วิธีการรักษาที่ได้รับ
Study design • This study is a cross-sectional study with one-time assessment of quality of life in patients with the conditions of interest.
III. Study population • Population in this study was Thai patients with the following health conditions; • Four chronic diseases; HIV, stroke, liver cancer, diabetes mellitus, • Any health condition affected from the traffic accident. • Total population in each health condition was estimated based on data from recent report on burden of disease in Thailand[i]. These data showed that; • [i]MOPH. Burden of Disease Report, Thailand. Ministry of Public Health. Nonthaburi, 2004.
Prevalence of patients. • Number of HIV patients number in Thailand was 572,482, • Number of patients with traffic accidents was 232,447, • Number of patients with stroke was 286,681, • Number of patients with diabetes was 3,315,156, and • Number of patients with liver cancer was 17,466.
Sample Size Calculation Method. • The sample was obtained by using the formula of Taro Yamane as we shown below • Sample size(n) = N • ────────────── • 1 + N(e)2 • Figure 3.1: Illustrate the Yamane’s sample size calculation equation. • Source: Taro Yamane. 1967. Elementary Sampling Theory. Prentice Hall.
Number of sample size. • At the confidence level = 95% and error = 0.05, sample sizes are as following; • 400 patient with HIV diseases, • 392 patient with Traffic accidents, • 400 patients with Stroke, • 400 patients with Diabetes, and • 392 patients with Liver cancer.
Eligible criteria for patients to be included in the analysis are as following. • Patients with HIV • Aged ≥ 15 years • Have been clinically diagnosed having HIV or AIDS • May or may not be treated with anti-retroviral therapy • Patients who have Traffic accidents • Aged ≥15 years • Visited and received care in emergency unit in the studied hospitals after having accidents • Patients with Stoke: • Aged ≥15 years • Have been clinically diagnosed having any type of stroke: TIA, RIND, Cerebral infraction, Cerebral hemorrhage • Regularly received care and medicine in the studied hospitals
Patients with Diabetes Mellitus • Age ≥ 15 years • Have been clinically diagnosed having any type of DM • Regularly received care and medicine in the studied hospitals • Patients with Liver Cancer • Age ≥ 15 years • Have been clinically diagnosed having Liver Cancer in any stage • Regularly received care and medicine in the studied hospitals
IV. Sampling technique and data collection • การสุ่มตัวอย่างจากประชากรทั้งหมดนั้น ใช้วิธีการกระจายโดยอาศัยศักยภาพของสถานพยาบาลเป็นเกณฑ์ เพื่อลดตัวกวนที่เกิดจากการรักษาที่แตกต่างกัน ในแต่ละระดับของโรงพยาบาล แต่เนื่องจากในบางโรคนั้นอาศัยการรักษาพยาบาลที่ค่อนข้างสูงทำให้การสอบถามข้อมูลจึงอยู่ในโรงพยาบาลที่มีขนาดสูง โดยมีรายละเอียดโรงพยาบาลในแต่ละโรคดังต่อไปนี้
(1) การศึกษาในผู้ป่วย HIV/AIDs • 1.โรงพยาบาลชุมชน: โรงพยาบาลบ้านหมอ อ.บ้านหมอ จ.สระบุรี • 2.โรงพยาบาลทั่วไป: โรงพยาบาลพระพุทธบาท อ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี • 3. โรงพยาบาลศูนย์: โรงพยาบาลศูนย์สระบุรี อ.เมือง จ.สระบุรี • 4. โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ โรงพยาบาล บำราศนราดูล จ.นนทบุรี
(2) การศึกษาในผู้ป่วยเบาหวาน • 1.โรงพยาบาลชุมชน: โรงพยาบาลบ้านหมอ อ.บ้านหมอ จ.สระบุรี • 2.โรงพยาบาลทั่วไป: โรงพยาบาลพระพุทธบาท อ.พระพุทธบาท จ. สระบุรี • 3. โรงพยาบาลศูนย์: โรงพยาบาลศูนย์สระบุรี อ.เมือง จ.สระบุรี • 4. โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย โรงพยาบาลรามาธิบดี จ. กรุงเทพมหานคร
(3) การศึกษาในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง • โรงพยาบาลศูนย์: โรงพยาบาลศูนย์สระบุรี จ.สระบุรี • โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย:โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จ. กรุงเทพมหานคร • โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย:โรงพยาบาลศิริราชพยาบาล จ. กรุงเทพมหานคร • โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย:โรงพยาบาลรามาธิบดี จ. กรุงเทพมหานคร
(4) การศึกษาในผู้ป่วยที่ได้รับการบาดเจ็บต่าง ๆ • โรงพยาบาลทั่วไป: โรงพยาบาลพระพุทธบาท จ.สระบุรี • โรงพยาบาลศูนย์: โรงพยาบาลศูนย์สระบุรี จ.สระบุรี • โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ: โรงพยาบาลราชวิถี จ. กรุงเทพมหานคร • โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย: โรงพยาบาลรามาธิบดี จ. กรุงเทพมหานคร
(5) การศึกษาในผู้ป่วยมะเร็งตับ • โรงพยาบาลศูนย์: โรงพยาบาลศูนย์สระบุรี จ.สระบุรี • โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ: สถาบันมะเร็งแห่งชาติ จ. กรุงเทพมหานคร • โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย: โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จ.กรุงเทพมหานคร • โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย: โรงพยาบาลศิริราชพยาบาล จ. กรุงเทพมหานคร • โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย: โรงพยาบาลรามาธิบดี จ. กรุงเทพมหานคร
V. Statistical analysis • คำนวณ utility weight จาก EQ-5D, EQ-VAS along with Dolan Algorithms.[i] • [i] Dolan, P. Modeling Valuations for EuroQol Health States. Med Care. 1997;35:1095–1108.