1 / 59

ทฤษฎีผู้นำ

ทฤษฎีผู้นำ. 1.Great Man Theory. ผู้นำเป็นมาแต่กำเนิด ไม่สามารถสร้างขึ้นมาได้ เป็นโดยสายเลือดและกรรมพันธุ์. ศึกษาจากประวัติและบันทึกความทรงจำ. ผู้นำเป็นใคร มีคุณลักษณะพิเศษอย่างไร. การศึกษาผู้นำในอดีตพบว่า. รูปร่างสูงใหญ่ แข็งแรง บึกบึน อดทน เสียงมีพลัง ดวงตาเป็นประกาย

morrison
Download Presentation

ทฤษฎีผู้นำ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทฤษฎีผู้นำ

  2. 1.Great Man Theory • ผู้นำเป็นมาแต่กำเนิด ไม่สามารถสร้างขึ้นมาได้ • เป็นโดยสายเลือดและกรรมพันธุ์

  3. ศึกษาจากประวัติและบันทึกความทรงจำศึกษาจากประวัติและบันทึกความทรงจำ • ผู้นำเป็นใคร • มีคุณลักษณะพิเศษอย่างไร

  4. การศึกษาผู้นำในอดีตพบว่าการศึกษาผู้นำในอดีตพบว่า • รูปร่างสูงใหญ่ • แข็งแรง บึกบึน • อดทน • เสียงมีพลัง • ดวงตาเป็นประกาย • ฉลาดและบุคลิกดี

  5. 2.Trait Theory

  6. ศึกษาจากผู้นำโดยตรง • คุณลักษณะผู้นำไม่ได้ติดตัวมาแต่เกิด สามารถเกิดขึ้นโดยการเรียนรู้และประสบการณ์

  7. มีความฉลาด รู้จักวิเคราะห์ มีความกระตือรือร้น มีความกล้าหาญ มีมนุษยสัมพันธ์ดี มีศิลปะในการจูงใจ มีอำนาจ บุคลิกดี มีความยืดหยุ่น รู้กาลเทศะ เป็นคนเปิดเผย ฯลฯ Luthans.1981

  8. 3.Behavioral Theory • ศึกษาพฤติกรรมผู้นำที่แสดงออก • พยายามหาผู้นำที่มีประสิทธิภาพ ใช้ได้ทุกสถานการณ์

  9. 3.1 การศึกษาผู้นำของมหาวิทยาลัยแห่งโอไฮโอ • เพื่อบ่งชี้พฤติกรรมผู้นำ • เพื่อค้นหาแบบผู้นำที่ส่งผลต่อการทำงานของผู้ตาม • เพื่อค้นหาแบบผู้นำที่มีประสิทธิภาพ

  10. แบบสอบถาม : LBDQ(The Leader Behavior Descriptive)แบบสอบถาม : LOQ (The Leader Opinion Questionnaire)

  11. ผลการศึกษา • พฤติกรรมมุ่งงาน (initiating structure) • พฤติกรรมมุ่งสัมพันธ์ (consideration)

  12. 3.2 การศึกษาพฤติกรรมผู้นำของมหาวิทยาลัยมิชิแกน • เพื่อบ่งชี้พฤติกรรมผู้นำ • เพื่อค้นหาแบบผู้นำที่ส่งผลต่อการทำงานของผู้ตาม • เพื่อค้นหาแบบผู้นำที่มีประสิทธิภาพ

  13. ผลการศึกษา • พฤติกรรมมุ่งงาน • พฤติกรรมมุ่งสัมพันธ์

  14. พฤติกรรมมุ่งงาน ผู้ตามมีขวัญและกำลังใจในการทำงานสูงกว่าผู้บริหารที่มีพฤติกรรมมุ่งงาน

  15. 4. Managerial Grid of Leadership Theory

  16. Blake and Mouton.1964 แบบทำงานเป็นทีม แบบมิตรภาพสังสรรค์ สูง พฤติกรรมมุ่งสัมพันธ์ พฤติกรรมมุ่งงาน สูง ต่ำ

  17. 4.1 แบบเรื่อยเฉื่อย (impoverished) • ไม่สนใจผลสำเร็จของงาน ไม่กระตุ้นจูงใจสมาชิก หลีกเลี่ยงการตัดสินใจ ไม่มีข้อมูลป้อนกลับการทำงาน สร้างบรรยากาศแบบเฉื่อยชา

  18. 4.2 แบบมิตรภาพสังสรรค์ (country club) • เน้นความเป็นมิตรและความพึงพอใจของสมาชิก ทำหน้าที่ตัดสินใจและแก้ปัญหาต่างๆ สร้างบรรยากาศแห่งมิตรภาพ สนใจกิจกรรมทางสังคมมากกว่าที่จะมุ่งผลงานจริง

  19. 4.3 แบบเน้นงาน (task) • ให้ความสำคัญผลงานเป็นหลัก ไม่สนใจความสู้สึกของสมาชิก ดำเนินการวางแผนและตัดสินใจเอง สร้างบรรยากาศ แพ้- ชนะ ข่มขู่สมาชิกให้ทำงานและให้ผลป้อนกลับในทางลบ ทำให้สมาชิกต่อต้านองค์การและหาทางทำลายองค์การ

  20. 4.4 ผู้นำแบบเดินสายกลาง (middle of the road) • ตัดสินใจด้วยการโหวต ให้ความสำคัญทั้งงานและคนในระดับปานกลาง ให้ผลป้อนกลับแบบไม่จริงจัง จำกัดความคิดสร้างสรรค์ของสมาชิก ทำงานเพื่อรักษาสภาพการณ์ให้ปกติเท่านั้น

  21. 4.5 แบบทำงานเป็นทีม (team) • เปิดโอกาสให้สมาชิกเข้ามามีส่วนร่วมแก้ปัญหาและข้อขัดแย้ง • ร่วมกำหนดวัตถุประสงค์ • สร้างบรรยากาศบนพื้นฐานของการยอมรับ เชื่อถือและศรัทธราซึ่งกันและกัน • ป้อนกลับด้วยการประเมินอย่างมีเหตุผล

  22. Theory X and Theory Y

  23. ฐานคติของทฤษฎี X • คนทั่วไปไม่ชอบทำงาน และจะหลีกเลี่ยงงานหากมีโอกาส • ต้องบังคับ ควบคุม สั่งการ ข่มขู่ และทำโทษงานจึงจะเสร็จ

  24. คนทั่วไปชอบให้คนอื่นสั่งการ หลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ มีความทะเยอทะยานน้อย และต้องการความปลอดภัยเหนือสิ่งอื่นใด

  25. ฐานคติของทฤษฎี Y • การทำงานของร่างกายและสมองเป็นเรื่องธรรมชาติ เหมือนการพักผ่อน

  26. การควบคุมและการลงโทษไม่ใช่วิธีการเดียวที่จะทำให้คนทำงานบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การ คนเราจะบังคับและควบคุมตนเองทำงานที่รับผิดชอบให้สำเร็จ

  27. ความมุ่งมั่นที่จะทำงานให้สำเร็จ ถือเป็นรางวัลของของด้วย

  28. คนโดยทั่วไปจะเรียนรู้ภายใต้สถานการณ์ที่เหมาะสม ไม่เพียงแต่มีความรับผิดชอบแต่จะแสวงหาความรับผิดชอบ

  29. คนทั่วไปมีความสามารถในการคิด มีความฉลาดและมีความคิดสร้างสรรค์ที่จะแก้ปัญหาองค์การ

  30. ความสามารถทางด้านสติปัญญาของคนโดยทั่วไปถูกนำออกมาใช้เพียงบางส่วนความสามารถทางด้านสติปัญญาของคนโดยทั่วไปถูกนำออกมาใช้เพียงบางส่วน

  31. Hersey and Blanchard theory The Situational Leadership

  32. ผู้นำจะประสบผลสำเร็จในการนำย่อมขึ้นอยู่กับการเลือกใช้แบบผู้นำของตนเหมาะสมกับวุฒิภาวะของผู้ตามผู้นำจะประสบผลสำเร็จในการนำย่อมขึ้นอยู่กับการเลือกใช้แบบผู้นำของตนเหมาะสมกับวุฒิภาวะของผู้ตาม

  33. วุฒิภาวะของผู้ตาม • M1 – ไม่เต็มใจรับผิดชอบงาน และไม่มีความสามารถรับผิดชอบงาน • M2- เต็มใจรับผิดชอบงาน แต่ไม่มีความสามารถรับผิดชอบ

  34. วุฒิภาวะของผู้ตาม • M3 – มีความสามารถในการรับผิดชอบ แต่ไม่เต็มใจรับผิดชอบ • M4 - เต็มใจรับผิดชอบงานและมีความสามารถรับผิดชอบ

  35. แบบมีส่วนร่วม แบบขายความคิด พฤติกรรมมุ่งสัมพันธ์ แบบสั่งการ แบบกระจายอำนาจ สูง ต่ำ พฤติกรรมมุ่งงาน วุฒิภาวะผู้ตาม สูง ต่ำ

  36. S1 – ผู้นำแบบสั่งการ (telling)ผู้นำชอบสั่งการและบงการให้ผู้อื่นทำตาม มีการตัดสินใจด้วยตนเอง และใช้การสื่อสารทางเดียว เหมาะกับ M1

  37. S2 – ผู้นำแบบขายความคิด (selling)ผู้นำยังใช้การสั่งการ พยายามใช้การสื่อสารสองทาง ใช้หลักชักสังคมวิทยาในการโน้มน้าวจูงใจให้ผู้อื่นคล้อยตามในการตัดสินใจ M2

  38. S3 – ผู้นำแบบมีส่วนร่วม (participating)ผู้นำที่ให้ผู้ตามมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเต็มที่ มีการปรึกษาหารือ การวางแผน และแก้ปัญหาร่วมกัน เหมาะกับ M3

  39. S4 – ผู้นำแบบกระจายอำนาจ (delegating)ผู้นำที่กระจายอำนาจและมอบหมายความรับผิดชอบให้ผู้ตามตัดสินใจเลือกวิธีการทำงานด้วยตนเอง โดยผู้นำจะไม่เข้าไปก้าวก่าย เหมาะกับ M1

  40. Fiedler’s Contingency Leadership Theory

  41. ภาวะผู้นำตามสถานการณ์ของ Fiedler • แบ่งผู้นำออกเป็น 2 แบบ • ผู้นำแบบมุ่งงาน (Task- Oriented) • ผู้นำแบบมุ่งสัมพันธ์ (Relationship -Oriented)

  42. สถานการณ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพความเป็นผู้นำสถานการณ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพความเป็นผู้นำ • Leadership-Member Relations : ผู้นำจะได้รับการยอมรับมากน้อยแค่ไหนขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์และความคาดหมายของผู้ใต้บังคับบัญชา

  43. สถานการณ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพความเป็นผู้นำสถานการณ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพความเป็นผู้นำ • Task Structure : โครงสร้างของงานมีความแน่นอนหรือมีความคลุมเครือ

  44. สถานการณ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพความเป็นผู้นำสถานการณ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพความเป็นผู้นำ • Position Power : อำนาจที่เป็นทางการที่องค์การกำหนดไว้ ถ้ากำหนดไว้มาก ก็มีอิทธิพลต่อบุคคลอื่นมาก

  45. มุ่งสัมพันธ์ 5 4 6 7 3 1 มุ่งงาน 2 8 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำกับผู้ใต้บังคับบัญชา โครงสร้างของงาน อำนาจในตำแหน่ง

  46. Leader-Member Theory, LMXGeorge Graen

  47. การเข้ากันได้เป็นการส่วนตัวการเข้ากันได้เป็นการส่วนตัว ความสามารถของผู้ใต้บังคับบัญชา บุคลิกภาพที่แสดงออก ผู้นำ ความสัมพันธ์เป็นทางการ ไว้วางใจ ปฏิสัมพันธ์สูง ผู้ใต้บังคับบัญชา A ผู้ใต้บังคับบัญชา B ผู้ใต้บังคับบัญชา C ผู้ใต้บังคับบัญชา D ผู้ใต้บังคับบัญชา E ผู้ใต้บังคับบัญชา F ในกลุ่ม นอกกลุ่ม

  48. Path Goal TheoryEvans and House

  49. แบ่งผู้นำเป็น 4 แบบ • 1. ผู้นำแบบชี้นำ (Directive Leader Behavior) ให้ผู้ใต้บังคับบัญชารู้ในสิ่งที่ตนเองคาดหวัง มีการกำหนดแนวทางและชี้นำ และกำหนดตารางการทำงาน

  50. 2. ผู้นำแบบสนับสนุน (Supportive Leader Behavior) ให้ความเป็นมิตร มีการจัดสวัสดิการแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา และให้ความเป็นธรรมกับทุกคน

More Related