1 / 7

โรคหลอดเลือดสมอง หมายถึง

โรคหลอดเลือดสมอง หมายถึง. อาการอ่อนแรงของแขนขา หรือ ใบหน้า ตา ปาก ทำให้ ร่างกายส่วนนั้นเคลื่อนไหวไม่ ได้ หรือ ได้น้อยกว่าปกติ และ อาจทำให้เนื้อสมองตายได้. สาเหตุเกิดจาก. 1 .เส้นเลือดในสมองตีบ. 2.เส้นเลือดในสมองมีก้อนอุดตัน. 3.เส้นเลือดในสมองแตก.

morgan
Download Presentation

โรคหลอดเลือดสมอง หมายถึง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคหลอดเลือดสมอง หมายถึง • อาการอ่อนแรงของแขนขา หรือ ใบหน้า ตา ปาก ทำให้ ร่างกายส่วนนั้นเคลื่อนไหวไม่ ได้ หรือ ได้น้อยกว่าปกติ และ อาจทำให้เนื้อสมองตายได้

  2. สาเหตุเกิดจาก 1.เส้นเลือดในสมองตีบ 2.เส้นเลือดในสมองมีก้อนอุดตัน 3.เส้นเลือดในสมองแตก 4.เกิดจากโรคต่างๆ เช่น โรคหัวใจ เบาหวาน เป็นต้น

  3. อาการ จะมีอาการต่างๆ ตามความรุนแรงข้างใดข้างหนึ่ง หรือทั้ง2ข้าง อาจมีอาการชา ตามใบหน้า ตา ปาก ปวดศีรษะ

  4. การรักษา 1. รักษาตามอาการ 1.1 ให้ยาลดความดันโลหิตในรายที่ความดันโลหิตสูง 1.2 ให้ยาละลายลิ่มเลือด หรือ ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด 2.การผ่าตัดเอาก้อนเลือดในสมองออก

  5. การปฏิบัติตัว และ การดูแลผู้ป่วย เมื่อผู้ป่วยพ้นระยะอันตราย เริ่มรู้สึกตัวดี ให้ปฏิบัติต่อผู้ป่วยดังนี้ 1. พยายามพลิกตัวผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับที่ก้น หลัง และ ข้อต่างๆ 2. ให้อาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่ และ ให้ดื่มน้ำอย่างเพียงพอ 3. พยายามบริหารข้อต่างๆ เพื่อป้องกันไม่ให้ข้อติดแข็ง 4. ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ

  6. การทำกายภาพบำบัด 1. ในผู้ป่วยที่กล้ามเนื้อไม่มีแรง หรือ ไม่ค่อยรู้สึกตัว ให้ช่วยจับแขนขาข้าที่เป็น และ งอเข้า ออก ซ้ำๆกัน 10 -20 ครั้ง อย่างน้อยวันละ 2 หน เพื่อป้องกันข้อติดแข็ง 2. ผู้ป่วยที่กล้ามเนื้อแข็งแรง ระยะนี้ แขนขา ข้างที่เป็นอัมพาต มักงอ เกร็ง ในท่าผิดปกติ ถ้าทั้งไว้นานๆ ข้อจะติด เหยียดไม่ออก และ มีอาการเจ็บร่วมด้วย ทั้งนี้อาจเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเดินไม่ได้ ควรพยายามจับแขนขา เหยียดซ้ำๆกัน อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ถ้ามีแรงพอ ควรพยายามให้หัดเดิน โดยใช้ไม้เท้าค้ำยัน

  7. การให้คำแนะนำเมื่อผู้ป่วยกลับไปอยู่บ้านการให้คำแนะนำเมื่อผู้ป่วยกลับไปอยู่บ้าน 1.รับประทานยาที่แพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด 2.ทำกายภาพบำบัดอย่างสม่ำเสมอ 3.งดสูบบุหรี่, ดื่มเหล้าโดยเด็ดขาด 4.ทานอาหารที่มีประโยชน์ งดอาหารไขมันสูง และดื่มน้ำอย่างเพียงพอ 5. พักผ่อนอย่างเพียงพอ 6.มาตรวจตามแพทย์นัดทุกครั้ง

More Related