1 / 22

การเพาะชำกล้าไม้

การเพาะชำกล้าไม้. โครงการเงินกู้เพื่อวางระบบน้ำและสร้างอนาคตประเทศ แผนปฏิบัติการฟื้นฟูการอนุรักษ์ป่า และดินในพื้นที่ป่าอนุรักษ์. แรง ( stress) ที่มากระทำต่อไม้ ซึ่งมี 4 ลักษณะ แรงบีบ ( compressive stress) เป็นแรงที่ทำให้ไม้มีขนาดเล็กกว่าเดิม

morela
Download Presentation

การเพาะชำกล้าไม้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเพาะชำกล้าไม้ โครงการเงินกู้เพื่อวางระบบน้ำและสร้างอนาคตประเทศ แผนปฏิบัติการฟื้นฟูการอนุรักษ์ป่า และดินในพื้นที่ป่าอนุรักษ์

  2. แรง (stress) ที่มากระทำต่อไม้ ซึ่งมี 4 ลักษณะ • แรงบีบ (compressive stress) เป็นแรงที่ทำให้ไม้มีขนาดเล็กกว่าเดิม • แรงดึง (tensile stress) เป็นแรงที่ทำให้ไม้มีขนาดหรือปริมาตรใหญ่กว่าเดิม • แรงเชือด (shear stress) เป็นแรงที่ทำให้ไม้แยกออกเป็น 2 ส่วน • แรงดัด (bending stress) เป็นแรงที่ทำให้ไม้โค้งงอจนหัก เป็นแรงที่รวมเอาแรง 3 ชนิดแรกเข้าด้วยกัน หลักเกณฑ์การพิจารณาไม้เนื้อแข็ง หรือ ไม้เนื้ออ่อน

  3. หลักเกณฑ์การพิจารณาไม้เนื้อแข็ง หรือไม้เนื้ออ่อน • ความแข็งแรง (strength) คือความสามารถที่ไม้จะต้านทานต่อแรงที่มากระทำ ซึ่งจะมีความแข็งแรงชนิดใดก็ขึ้นอยู่กับชนิดแรงที่มากระทำ • แรงที่นับว่าสำคัญและพบว่าเกิดขึ้นเสมอในสิ่งก่อสร้าง คือแรงบีบขนานเสี้ยนและแรงดัด รองลงมาก็คือแรงเชือด โดยเฉพาะแรงดัดซึ่งสามารถทำให้ไม้หักเสียรูปโดยสิ้นเชิงนั้น

  4. หลักเกณฑ์การพิจารณาไม้เนื้อแข็ง หรือไม้เนื้ออ่อน • แรงดัดสูงสุดที่ทำให้ไม้หัก เรียกว่า แรงประลัยหรือสัมประสิทธิ์ในการหัก (modulus of rupture) • ความต้านทานของไม้ต่อแรงประลัยนี้ เรียกว่า ความแข็งแรงของไม้ในการดัด ซึ่งยอมรับและใช้กันเป็นมาตรฐานของความแข็งแรงของไม้ • ในการแบ่งไม้ออกเป็นประเภทไม้เนื้ออ่อนหรือไม้เนื้อแข็ง จึงได้ถือเอาความแข็งแรงในการดัดเป็นเกณฑ์ โดยพิจารณาความทนทานตามธรรมชาติประกอบด้วย

  5. หลักเกณฑ์การพิจารณาไม้เนื้อแข็ง หรือไม้เนื้ออ่อน • ไม้ตะเคียนทอง (Hoper odorataRoxb.) เป็นไม้ที่ได้รับความนิยมและยอมรับกันอย่างกว้างขวางมานานว่า เป็นไม้เนื้อแข็งที่มีคุณภาพดีทั้งด้านความแข็งแรงและความทนทาน จึงได้เปรียบเทียบคุณภาพของไม้ที่ยังไม่รู้จักกับไม้ตะเคียนทองเสมอ • การแบ่งไม้เนื้ออ่อน ไม้เนื้อแข็งของกรมป่าไม้ จึงนำเอาความแข็งแรงในการดัดของไม้ตะเคียนทองที่แห้งเป็นค่ามาตรฐานในการแบ่งช่วงความแข็งแรงในการดัดของไม้ชนิดต่างๆ ว่าเป็นไม้เนื้อแข็งหรือไม้เนื้ออ่อน ปรากฏตามรายละเอียดใน หนังสือกรมป่าไม้ที่ กส0702/6679 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2517

  6. หลักเกณฑ์การพิจารณาไม้เนื้อแข็ง หรือไม้เนื้ออ่อน ข้อมูลจาก :หนังสือไม้เนื้อแข็งของประเทศไทยเรียบเรียง :บางรักษ์ เชษฐสิงห์ นักวิชาการป่าไม้ 5

  7. ไม้โตช้าหรือไม้โตเร็วไม้โตช้าหรือไม้โตเร็ว • หลักเกณฑ์การจำแนกไม้โตเร็วMeijer (After Soerianegara) ได้แบ่งชั้นอัตราความเจริญเติบโตของต้นไม้ไว้เป็น 5 ประเภท คือ1. ไม้โตเร็วมาก (Very fast growing) ได้แก่ ต้นไม้ที่มีอัตราความเจริญเติบโตทางเส้นรอบวงเกินปีละ 5 ซ.ม.2.ไม้โตเร็ว (Fast growing) ได้แก่ ต้นไม้ที่มีอัตราความเจริญเติบโตทางเส้นรอบวง ปีละ 4-5 ซ.ม.3.ไม้โตปกติ (Normal growing) ได้แก่ ต้นไม้ที่มีอัตราความเจริญเติบโตทางเส้นรอบวง ปีละ 2.5-4.0 ซ.ม.

  8. ไม้โตช้าหรือไม้โตเร็วไม้โตช้าหรือไม้โตเร็ว • 4.ไม้โตค่อนข้างช้า (Rather slow) ได้แก่ ต้นไม้ที่มีอัตราความเจริญเติบโตทางเส้นรอบวง ปีละ 1.0-2.5ซ.ม.5.ไม้โตช้า (Slow) ได้แก่ ต้นไม้ที่มีอัตราความเจริญเติบโตทางเส้นรอบวง น้อยกว่าปีละ 1.0 ซ.ม. • ที่มา : MontonJamroenprucksa, Ph.D.Associate ProfessorDepartment of Silviculture,Faculty of Forestry,Kasetsart University,

  9. แนวทางการดำเนินงาน • ควรมีการเพาะชำกล้าไม้ไม่ต่ำกว่า 5 ชนิด โดยมีจำนวนแต่ละชนิดใกล้เคียงกัน • ต้องมีทั้งไม้โตช้า และไม้โตเร็ว ไม้เนื้ออ่อนและไม้เนื้อแข็ง • แปลงเพาะชำที่ดี จะวางอยู่ในแนว เหนือ – ใต้ • BLOCK ในการวางกล้าไม้ควรมีจำนวนกล้าไม้ในแต่ละ BLOCK ที่เท่ากันเพื่อสะดวกในการตรวจนับ

  10. แนวทางการดำเนินงาน • จำนวนกล้าไม้ในแต่ละ Block ที่แนะนำ คือ Block ละ ๑,๐๐๐ ถุง( ด้านกว้าง ๒๐ ถุง ด้านยาว ๕๐ ถุง) ถ้ามีเป้าหมาย ๑๐๐,๐๐๐กล้า ก็จะมีกล้าไม้ จำนวน ๑๐๐ Block • กล้าไม้ชนิดเดียวกันควรอยู่ในกลุ่มเดียวกัน • ควรมีป้ายแสดงชนิดกล้าไม้ โดยมีทั้งชื่อ สามัญ และชื่อ วิทยาศาสตร์

  11. แนวทางการดำเนินงาน • ขนาดของป้าย กว้าง ๑๕ ซม. ยาว ๓๐ ซม. พื้นทาสีน้ำตาลเข้ม ตัวหนังสือ สีขาว • จำนวน ขึ้นอยู่กับจำนวน ชนิดกล้าไม้ที่เพาะ(ชนิดละ ๑ ป้าย) • จัดทำแผนผังแปลงเพาะชำ

  12. แนวทางการดำเนินงาน

  13. แนวทางการดำเนินงาน • จัดทำรายละเอียดของแต่ละ Block เช่น BLOCK ที่ 1 - ? จำนวน ............... กล้า ชื่อกล้าไม้................... ชื่อวิทยาศาสตร์ ............................ วัน เดือน ปี ที่ย้ายกล้าลงถุง ................................... ความสูง วัน/เดือน/ปี .................... สูง ...................... ซม. (วัดทุกวันพฤหัสบดี โดยวัดที่ต้นเดิมทุกครั้ง อาจใช้ไม้บรรทัด ปักคาไว้ แล้วมาอ่านค่าเป็นระยะๆตามกำหนดเวลา)

  14. แนวทางการดำเนินงาน • ทำบันทึกการดูแลรักษากล้าไม้

  15. การรายงาน

  16. คำถามที่ควรมีคำตอบ • ไม้โตเร็ว ไม้โตช้า ไม้เนื้ออ่อน ไม้เนื้อแข็ง • ทำไมถึงเลือกเพาะกล้าไม้ชนิดนี้ .............. • ไม้ชนิดนี้ .... เพาะอย่างไร • มีวิธีการดูแลรักษากล้าไม้อย่างไร • เงินค่ากล้าไม้ 2.79 บาท ใช้ทำอะไรบ้าง • กล้าไม้ที่เพาะเอาไปทำอะไร • กล้าไม้ที่มีลักษณะ หรือประโยชน์อะไรบ้าง

More Related