770 likes | 1.06k Views
ง 31101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร). สาระที่ 1. การดำรงชีวิตและครอบครัว สาระที่ 2. การออกแบบและเทคโนโลยี. นายสุวิชช์ เชิงปัญญา ผู้สอน. หน่วยที่ 2.1 เทคโนโลยีสัมพันธ์. ความสำคัญและบทบาทของเทคโนโลยี
E N D
ง 31101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) สาระที่ 1. การดำรงชีวิตและครอบครัว สาระที่ 2. การออกแบบและเทคโนโลยี นายสุวิชช์ เชิงปัญญาผู้สอน
หน่วยที่ 2.1 เทคโนโลยีสัมพันธ์ ความสำคัญและบทบาทของเทคโนโลยี เทคโนโลยีมีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างมาก จากการนำความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการ ตลอดจนผลผลิตทางวิทยาศาสตร์ และวิธีปฏิบัติมาประยุกต์ใช้ จนได้เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพมาใช้ในชีวิตประจำวัน
ความสำคัญและบทบาทของเทคโนโลยีความสำคัญและบทบาทของเทคโนโลยี การดำรงชีวิตประจำวัน Healthy Japan Railway (JR) Food Vaccine
ความสำคัญและบทบาทของเทคโนโลยีความสำคัญและบทบาทของเทคโนโลยี การพัฒนาประเทศ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม CSI – Crime Scene Investigation ความปลอดภัยของประชาชน
ความสำคัญและบทบาทของเทคโนโลยีความสำคัญและบทบาทของเทคโนโลยี ด้านสิ่งแวดล้อม Re-Design
ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นกฎ • นวัตกรรมใหม่ = เทคโนโลยี • ประกอบด้วย • Software > เทคโนโลยีส่วนเทคนิค วิธีการ กระบวนการ กลไกในการทำงาน • Hardware > เครื่องมือ อุปกรณ์ ผลิตภันฑที่จับต้องได้ การประยุกต์ให้เข้ากัน ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นทฤษฎี “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กันอย่างมาก”
ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น เทคโนโลยีระดับสูง เทคโนโลยีที่มีการศึกษาค้นคว้า วิจัย ทดลองอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง และสม่ำเสมอ เพื่อให้สามารถนำมาใช้ได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การค้นพบและศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต การสร้างเทคโนโลยี การปรับปรุงพันธุกรรมของพืชด้วย Gene-gun ให้สามารถเพิ่มปริมาณผลลิต
เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์ เทคโนโลยีทางการเกษตร วิทยาการที่เกี่ยวข้องกับการนำสิ่งประดิษฐ์หรือวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในด้านการเกษตร
เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์ การปรับปรุงพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ทนน้ำท่วมฉับพลัน ผลผลิตที่ได้ ได้ข้าวสายพันธุ์ที่สามารถทนอยู่ใต้น้ำได้ประมาณ 15 – 21 วัน โดยต้นข้าวไม่ตายเมื่อทดลองปลูกในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อน้ำท่วมฉับพลัน และพบว่าฟื้นตัวภายหลังน้ำท่วมได้ดีกว่าข้าวสายพันธุ์เดิม อีกทั้งให้ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ในปริมาณที่สูงกว่าเดิม
เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกับการผลิตท่อนพันธุ์ขิงและหัวปทุมมาปลอดโรค • ความสำคัญ • ไทยผลิตขิงคุณภาพดี และผลิตติดอันดับ 1 ใน 3 ของโลก • ปทุมมาเป็นไม้ดอกที่มีการส่งออกสูงเป็นอันดับ 2 ของประเทศรองลงมาจากกล้วยไม้ • ปัญหา • -พืชทั้ง 2 ชนิด มีปัญหาเรื่องโรคที่ติดมากับท่อนพันธุ์ทำให้ผลผลิตเสียหาย ดอกปทุมมา Curcuma alismatifolia Siam Tulip
เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกับการผลิตท่อนพันธุ์ขิงและหัวปทุมมาปลอดโรค ใช้เทคโนโลยี การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (Plant tissue culture) ในการแก้ไขปัญหา ทำให้ได้สายพันธุ์ปลอดเชื้อ ส่งออกได้ง่ายและไวขึ้น สะดวกต่อการเก็บรักษาพันธุ์นอกฤดู และลดขั้นตอนการขยายต้นพันธุ์
เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์ ทุ่งดอกปทุมมา 13 สายพันธุ์ ณ เทศกาลสื่อรักวันแม่ จ.สุพรรณบุรี
เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์ การปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรพอนิกส์ มีต้นกำเนิดมาจากอิสราเอล จากการแก้ไขปัญหา ผลิกผืนทะเลทรายให้ปลูกพืชได้ ด้วยการออกแบบสภาพพื้นที่ให้เป็นโรงเรือนที่สามารถปลูกพืชได้ โดยลดปัญหาสารพิษตกค้างในผลผลิต โรคพืช ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์ การปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรพอนิกส์ การปลูกพืชบนวัสดุปลูก การปลูกพืชบนสารละลาย
เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์ ประโยชน์ของการปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรพอนิกส์ - สามารถปลูกพืชในพื้นดินที่มีสภาพดินไม่เหมาะสมกับการเพาะปลูก และสามารถนำวัสดุปลูกหมุนเวียนกลับมาใช้ได้อีก - สามารถควบคุมปริมาณต้นพืชได้ง่าย และปลูกพืชนอกฤดูกาลได้ - ควบคุมสภาพแวดล้อมในการปลูกพืชได้ (ความสว่าง อุณหภูมิ ปริมาณธาตุอาหาร) - ลดปัญหาการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ข้อควรระวัง ใช้ต้นทุนสูง ควรเลือกชนิดพืชที่มีความต้องการของตลาดสูง
เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์ เทคโนโลยีย้ายฝากตัวอ่อนในโคนม เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงธุรกิจ เพราะช่วยให้แม่โคมนมพันธุ์ดี (ตัวให้) สามารถผลิตลูกโคนมให้มีจำนวนมากขึ้นโดยเก็บตัวอ่อนไปฝากไว้กับแม่โคนมตัวรับที่ให้ผลผลิตน้ำนมสูงและมีความสามารถในการเลี้ยงลูกได้ดี ประโยชน์ ช่วยลดต้นทุนการผลิต เพิ่มคสามสามารถในการแข่งขันกับต่างประเทศ
เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์ เทคโนโลยีย้ายฝากตัวอ่อนในโคนม X น้ำเชื้อพ่อโคพันธุ์ดี แม่พันธุ์โคนม (ตัวให้) เก็บตัวอ่อน แช่แข็ง ฝากตัวอ่อนในแม่โคนม (ตัวรับ)
เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์ เทคโนโลยีย้ายฝากตัวอ่อนในโคนม เหนี่ยวนำแม่โคนมตัวให้และแม่โคนมตัวรับเป็นสัด ฉีดฮอร์โมนกระตุ้นการตกไข่ เป็นสัด 2 – 3 ครั้ง ผสมเทียมแม่โคมตัวให้ใน 12 ชั่วโมง เก็บตัวอ่อน 7 วัน แช่แข็ง ประเมินคุณภาพตัวอ่อนที่เก็บด้วยกล้องจุลทรรศน์ ฝากตัวอ่อนในแม่โคนม (ตัวรับ)
เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์ เทคโนโลยีย้ายฝากตัวอ่อนในโคนม การผสมเทียม ลูกวัวเพิ่งเกิดใหม่ สภาพการแบ่งเซลล์หลังการผสมเทียม
เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์ การโคลนนิ่งสัตว์ การคัดลอก ทำซ้ำสิ่งมีชีวิตขึ้นมาใหม่ โดยไม่ต้องอาศัยการปฏิสนธิ แต่ใช้เซลล์ร่างกายในการสร้างสิ่งมีชีวิตขึ้นมาใหม่ ทำให้มีลักษณะพันธุกรรมเหมือนเดิมทุกประการ เซลล์ต้นแบบ เป็นเซลล์ที่ได้จากสัตว์ที่ต้องการขยายพันธุ์ ซึ่งเซลล์ต้นแบบอาจจได้มาจากอวัยวะใดก็ได้ การเก็บเซลล์ต้นแบบ
เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์ การโคลนนิ่งสัตว์ เซลล์ที่ต้องการโคลน ต้องมีความเข้ากันได้กับเซลล์ตัวรับ และมีจำนวนโครโมโซมครบ2n สัตว์ที่ต้องการโคลน ผู้ให้ ผู้รับ micropipette Cell fusion เซลล์ไข่ที่ยังไม่ได้รับการผสม เซลล์ไข่ไม่มีนิวเคลียส ย้ายนิวเคลียสออกมา
เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์ การโคลนนิ่งสัตว์แกะดอลลี ตัวให้เซลล์ไข่ ตัวให้เซลล์ที่ต้องการโคลน เอามาจากเซลล์เต้านม ตัวตั้งท้อง ผลผลิต
เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์ การโคลนนิ่งสัตว์สุนัขเพื่อการค้า ตัวให้เซลล์ไข่ไร้นิวเคลียส ตัวตั้งท้อง Embryo ผลผลิต 3 เดือน เยื่อส่วนหูของสุนัข Cell fusion
เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์ การโคลนนิ่งกระทิง กระทิง - สัตว์ป่าหายากใกล้สูญพันธุ์ X นิวเคลียสเซลล์ผิวหนังกระทิง (ตัวให้) เซลล์ไข่วัวเพศเมียสารพันธุกรรมใกล้เคียงกระทิง (ตัวรับ) ตั้งท้อง ส่งถ่ายเข้าวัวตัวรับ กระทิงตัวใหม่
เทคโนโลยีกับศึกษาศาสตร์เทคโนโลยีกับศึกษาศาสตร์ Electronic Learning (E-Learning) การเรียนการสอนที่ถ่ายทอดเนื้อหาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
เทคโนโลยีกับศึกษาศาสตร์เทคโนโลยีกับศึกษาศาสตร์ ตัวอย่าง Electronic Learning (E-Learning) E-book ด้วย Adobe Flash CS Author Desktop
เทคโนโลยีกับศึกษาศาสตร์เทคโนโลยีกับศึกษาศาสตร์ ตัวอย่าง Electronic Learning (E-Learning) E-Library
เทคโนโลยีกับศึกษาศาสตร์เทคโนโลยีกับศึกษาศาสตร์ ห้องเรียนจำลอง (Virtual Classroom)
เทคโนโลยีกับศึกษาศาสตร์เทคโนโลยีกับศึกษาศาสตร์ ลักษณะเด่นของห้องเรียนจำลอง (Virtual Classroom) - สามารถเลือกเรียนวิชาใดวิชาหนึ่งจากครูคนใดคนหนึ่งต้องการทั่วโลก หากมีการเปิดโอกาสให้ลงทะเบียนเรียนได้โดยไม่มีขีดจำกัดในเรื่องพื้นที่ - นักเรียนมีส่วนร่วมกับครู หรือ เพื่อนที่เรียนร่วมกันได้ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นเวลากลางวัน กลางคืน - ประหยัดเวลาสำหรับนักเรียนที่ไม่สะดวกเดินทาง - ทำงานร่วมกัน โดยมีส่วนร่วมผ่านระบบสื่อสารออนไลน์
เทคโนโลยีกับศึกษาศาสตร์เทคโนโลยีกับศึกษาศาสตร์ การศึกษาทางไกล • แบ่งออกเป็น 3 ประเภท • สื่อสิ่งพิมพ์ • สื่อโสตทัศนูปกรณ์ • สื่ออิเล็กทรอกนิกส์และระบบโทรคมนาคม
เทคโนโลยีกับศึกษาศาสตร์เทคโนโลยีกับศึกษาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) • นำมาใช้ใน 3 รูปแบบ • ใช้ในการสอนเนื้อหา • ใช้ในการฝึกทักษะ • ใช้ในการสร้างสถานการณ์จำลอง
เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์ การถนอมอาหารด้วยความร้อน ใช้ความร้อนในระดับที่พอดีในการทำลายจุลินทรีย์/สิ่งปนเปื้อน โดยไม่ทำให้คุณค่าทางโภชนาการสูญเสียไป ตัวอย่างเชื้อจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนในนม ก่อเกิดโรคอันตราย (Clinical disease)ทำให้เกิดภาวะการเสียชีวิตได้ Listeria monocytogenes
เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์ การถนอมอาหารด้วยความร้อน - Pasteurization 1. Low Temperature Long Time (LTLT) ต้มที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส 30 นาที ทำให้เย็นทันทีที่ 4 องศาเซลเซียส เก็บในที่เย็นได้นาน 1 สัปดาห์ เป็นวิธีที่สามารถทำได้ในครัวเรือน
เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์ การถนอมอาหารด้วยความร้อน - Pasteurization 2. High Temperature Short Time (HTST) ต้มที่อุณหภูมิ 72-85 องศาเซลเซียส 15 วินาที ทำให้เย็นทันทีที่ 4 องศาเซลเซียส เก็บในที่เย็นได้นานกว่า LTLT
เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์ การถนอมอาหารด้วยความร้อน - Sterilization Ultra High Temperature (UHT) ผ่านความร้อนที่อุณหภูมิ 138 องศาเซลเซียส 2 วินาที บรรจุลงกล่องทันทีด้วย Aseptic technique เก็บที่อุณหภูมิห้องได้นานถึง 6 เดือน • รักษาโภชนาการของอาหารได้ดีที่สุด • สิ่งมีชีวิตปนเปื้อนทุกชนิด แม้แต่สปอร์ของแบคทีเรียยังถูกกำจัด
เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์ การถนอมอาหารด้วยความเย็น การแช่เย็น (Chilling) แช่เย็นที่อุณหภูมิ 5-7 องศาเซลเซียส • ทำให้ผักและผลไม้ซึ่งเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญคงความสดไว้ได้ • ลดกระบวนการหายใจของพืช ลดกระบวนการสูญเสียน้ำ • ชะลอกิจกรรมภายในเซลล์ให้ต่ำลง
เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์ การถนอมอาหารด้วยความเย็น การแช่แข็ง (Freezing) เก็บรักษาอาหารที่อุณหภูมิ -18 องศาเซลเซียส ด้วยกระบวนการ ใช้ลมเย็นเป่าบนอาหาร / จุ่มในสารให้ความเย็นโดยตรง อัดแผ่นความเย็นให้แนบสนิทกับอาหาร • ทำให้น้ำ/ของเหลวในอาหารกลายเป็นน้ำแข็ง ในเวลา 30 นาที • จุลินทรีน์ที่ปะปนอยู่ในอาหารไม่สามารถทำปฏิกิริยาทางชีวเคมี • ช่วยรักษาคุณภาพของอาหาร
เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์ การเร่งกระบวนการหมักน้ำปลาโดยการประยุกต์ใช้เอนไซม์ ผลไม้ตลาดที่มีความต้องการสูง มังคุดที่ไม่ได้มาตรฐานจำนวนมากถูกตีกลับเข้าประเทศ มังคุดแช่เย็นแบบแยกชิ้น แปรรูปใหม่ เพื่อเพิ่มมูลค่า และมาตรฐานของสินค้า มังคุดกระป๋องเชื่อม มังคุดกึ่งแห้ง
เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์ การเร่งกระบวนการหมักน้ำปลาโดยประยุกต์ใช้เอนไซม์ • ถูกแข่งขันจากเวียดนามในด้าน • ความถูกของค่าแรงงาน • คุณภาพของวัตถุดิบ • ระยะเวลาในการผลิต แก้ปัญหาโดยใช้เอนไซม์เร่งการย่อยสลายโปรตีน สร้างปรุงแต่งกลิ่นและรสตามธรรมชาติ ผลที่ได้ -ลดระยะเวลาการหมักน้ำปลาจาก 18 เดือน เหลือ 11 เดือน -มีปริมาณกรดอะมิโนอิสระที่ให้รสชาติมากกว่าการหมักด้วยวิธีปกติ -กลิ่นความหอมลดลงแต่เป็นที่ติดตลาดของต่างประเทศและคนรุ่นใหม่มากขึ้น
เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์ การถนอมอาหารด้วยการฉายรังสี ต้อง Label บ่งบอกว่าอาหารนี้ผ่านการฉายรังสี เพื่อเป็นสิทธิ์ผู้บริโภค ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 103 ว่าด้วยกรรมวิธีการผลิตอาหาร หลักการ > รังสีที่ฉายลงไปในอาหารจะทำลาย/ยับยั้งการทำกิจกรรมและการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ สิ่งปนเปื้อน และกิจกรรมบางประการของเอนไซม์ในต้นพืช
เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์เทคโนโลยีกับโภชนศาสตร์ ลักษณะการใช้งาน • ใช้ควบคุมการงอกของพืชผักในระหว่างการเก็บรักษา • ใช้ในการควบคุมการแพร่พันธุ์ของแมลงในระหว่างการเก็บรักษา • ใช้ในการยืดอายุการเก็บรักษาหน่วยอาหารสด • ใช้ทำลายเชื้อโรคและพยาธิในอาหาร Agree or Disagree in Food Irradiation?
เทคโนโลยีกับแพทยศาสตร์เทคโนโลยีกับแพทยศาสตร์ - เครื่องเอกซ์เรย์คอมพิวเตอร์ความเร็วสูง
เทคโนโลยีกับแพทยศาสตร์เทคโนโลยีกับแพทยศาสตร์ - เทคโนโลยีแสงเลเซอร์ > การผ่าตัดที่ต้องใช้ความละเอียดอ่อนมาก
เทคโนโลยีกับแพทยศาสตร์เทคโนโลยีกับแพทยศาสตร์ - ชุดตรวจเชื้อไข้หวัดนกทั้งที่เกิดในสัตว์และในคน กลไกการก่อโรค + M2 Protein– ทำหน้าที่แลกเปลี่ยน H ion ก่อเกิดสภาวะกรดใน endocrine Ribonucleusprotein จะทำงานร่วมกับ M1protein เปรียบเสมือนสารพันธุกรรมของ influenza ที่จะบุกเข้าสู่ cytoplasm ของ hostcell (H protein) ทำหน้าที่เป็นตัวเกาะติด (hemmaglutionation)กับเม็ดเลือดแดง การเกาะติดต้องอาศัยความเข้ากันได้ของ Antibody และ Antigen N protein – ส่วนย่อยสลาย host cell membrane ด้วยชุดตรวจ Innova Flu-A สามารถทราบผลได้ใน 10 นาที
เทคโนโลยีกับแพทยศาสตร์เทคโนโลยีกับแพทยศาสตร์ - การนำสารกัมมันตรังสี/รังสีมาใช้ในการตรวจและวินิจฉัยรักษาโรค - การนำสารกัมมันตรังสี/รังสีมาใช้ในการตรวจและวินิจฉัยรักษาโรค Iodine For thyroid cancer For cancer
เทคโนโลยีกับแพทยศาสตร์เทคโนโลยีกับแพทยศาสตร์ - การผลิตวัคซีนป้องกันเชื้อโรคต่างๆ วัคซีนเชื้อตาย วัคซีนเชื้อเป็น วัคซีนทอกซอยด์ นำพิษของเชื้อโรคมาทำให้หมดพิษ เชื้อจุลินทรีย์ที่ใกล้เคียงกับเชื้อก่อโรคถูกทำให้ตาย เชื้อจุลินทรีย์ใกล้เคียงกับเชื้อก่อโรคถูกเจือจางไม่สามารถก่อโรค นำเข้าสู่ร่างกายเพื่อให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน นำเข้าสู่ร่างกายเพื่อให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน นำเข้าสู่ร่างกายเพื่อให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน ข้อดี ปลอดภัย ข้อเสีย ภูมิคุ้มกันระยะสั้น ต้องกระตุ้นหลายครั้ง ข้อดี ปลอดภัยต่อการติดเชื้อ ข้อเสีย ต้องฉีดกระตุ้นหลายครั้งก่อเกิดการแพ้ ข้อดี สร้างภูมิคุ้มกันระยะยาวได้ และอาจตลอดชีวิต ข้อเสีย ความเสี่ยงต่อเชื้อกลายพันธุ์กลายเป้นเชื้อก่อโรครุนแรง บาดทะยัก ตับอักเสบบี ไอกรน ไข้หวัดใหญ่ คางทูม หัดเยอรมัน อีสุกอีใส
เทคโนโลยีกับพลังงานและสิ่งแวดล้อมเทคโนโลยีกับพลังงานและสิ่งแวดล้อม - เทคโนโลยีจากพลังงานแสงอาทิตย์ Solar cell = Plant photosynthesis process
เทคโนโลยีกับพลังงานและสิ่งแวดล้อมเทคโนโลยีกับพลังงานและสิ่งแวดล้อม - เทคโนโลยีผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ เหมาะสำหรับการผลิตกระแสไฟฟ้าในชนบทที่ไม่มีสายส่งไฟฟ้า โดยในเวลากลางวันทำหน้าที่ผลิตกระแสไฟฟ้าและจ่ายไฟ และเวลากลางคืนเก็บกักกระแสไฟฟ้า แบตเตอรี่ เครื่องควบคุมการชาร์จประจุ เครื่องเปลี่ยนระบบไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า
เทคโนโลยีกับพลังงานและสิ่งแวดล้อมเทคโนโลยีกับพลังงานและสิ่งแวดล้อม - เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ผลิตควมร้อน เป็นเทคโนโลยีผสมผสาน โดยสามารถผลิตน้ำร้อนจากแผงรับแสงอาทิตย์ ซึ่งเหมาะกับการใช้งานในระดับครัวเรือน ท่อน้ำเย็นเข้า นำไปใช้ในกิจกรรมต่างๆ ถังเก็บน้ำร้อน เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน แหล่งความร้อนเหลือทิ้ง