1 / 41

การจัดตำแหน่งลูกจ้างประจำเข้าสู่ตำแหน่งใหม่

การจัดตำแหน่งลูกจ้างประจำเข้าสู่ตำแหน่งใหม่. ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๔. การพัฒนาระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำของส่วนราชการ. 1. ระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำในปัจจุบัน. 2. การจัดระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำใหม่. 3. การปรับตำแหน่งลูกจ้างประจำเข้าสู่ระบบใหม่. 4. การบริหารอัตรากำลังตามระบบใหม่. ความเป็นมา. หมวดแรงงาน

mirit
Download Presentation

การจัดตำแหน่งลูกจ้างประจำเข้าสู่ตำแหน่งใหม่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดตำแหน่งลูกจ้างประจำเข้าสู่ตำแหน่งใหม่การจัดตำแหน่งลูกจ้างประจำเข้าสู่ตำแหน่งใหม่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๔

  2. การพัฒนาระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำของส่วนราชการการพัฒนาระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำของส่วนราชการ 1. ระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำในปัจจุบัน 2. การจัดระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำใหม่ 3. การปรับตำแหน่งลูกจ้างประจำเข้าสู่ระบบใหม่ 4. การบริหารอัตรากำลังตามระบบใหม่

  3. ความเป็นมา

  4. หมวดแรงงาน หมวดกึ่งฝีมือ หมวดฝีมือ หมวดฝีมือพิเศษระดับต้น หมวดฝีมือพิเศษระดับกลาง หมวดฝีมือพิเศษระดับสูง หมวดฝีมือพิเศษเฉพาะ กลุ่มชื่อ/ลักษณะงานเหมือนราชการ ระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำในภาพรวม ๑,๒๖๘ สายงาน ๗ หมวด ๑ กลุ่ม ๑,๒๖๘ สายงาน ๘ หมวด

  5. จำนวนสายงานของลูกจ้างประจำจำนวนสายงานของลูกจ้างประจำ

  6. จำนวนลูกจ้างประจำ รวม 168,658 ไม่รวมจำนวน ลูกจ้างประจำ ในกระทรวงกลาโหม

  7. จำนวนสายงานของลูกจ้างประจำจำนวนสายงานของลูกจ้างประจำ

  8. สภาพปัญหาเกี่ยวกับระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำในปัจจุบันสภาพปัญหาเกี่ยวกับระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำในปัจจุบัน • มีจำนวนสายงาน/ชื่อตำแหน่งมาก • ลักษณะงานเหมือนกันแต่ชื่อต่างกัน • ตำแหน่ง/สายงาน คล้ายกัน แต่จัดอยู่ในหมวด/ชั้นงานที่ต่างกัน • มีการกำหนดหมวดลักษณะงาน ที่เหมือนกับงานของข้าราชการ ทำให้เกิดความซ้ำซ้อน • เมื่อเลื่อนระดับชั้นต้องย้ายหมวด

  9. การจัดระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำใหม่การจัดระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำใหม่ หลักการ หลักความเป็นธรรมที่เทียบเคียงกันได้ภายใต้มาตรฐานเดียวกัน หลักการใช้คนให้เหมาะกับตำแหน่งงาน หลักการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน

  10. การจัดระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำใหม่การจัดระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำใหม่ วัตถุประสงค์ ◊ เพื่อให้ระบบตำแหน่งลูกจ้างมีความทันสมัยสอดคล้องกับแนวโน้มการปรับบทบาทของภาครัฐ สภาพการณ์ที่เปลี่ยนไป และภาระความรับผิดชอบในปัจจุบัน ◊ เพื่อให้ส่วนราชการมีแนวทางในการบริหารอัตรากำลังลูกจ้างประจำให้เกิดความคุ้มค่า ◊ เพื่อเสริมสร้างขวัญ กำลังใจ และแรงจูงใจในการทำงานของลูกจ้างประจำ

  11. การจัดระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำใหม่การจัดระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำใหม่

  12. การจัดระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำใหม่การจัดระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำใหม่ กลุ่มงานบริการพื้นฐาน ให้บริการเป็นหลักหรือเป็นงานพื้นฐานทั่วไป กลุ่มงานสนับสนุน ช่วยปฏิบัติหรือสนับสนุนผู้ปฏิบัติภารกิจหลัก กลุ่มงานช่าง ปฏิบัติงานช่างในการสร้าง ใช้ ซ่อม ประกอบ เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ กลุ่มงานเทคนิคเฉพาะ ปฏิบัติงานที่ต้องใช้เทคนิคพิเศษ

  13. การจัดระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำใหม่ (เว้น กห.) ใหม่ เดิม ๑,๒๖๘ สายงาน ๘ หมวด - แรงงาน - กึ่งฝีมือ - ฝีมือ - ฝีมือพิเศษระดับต้น - ฝีมือพิเศษระดับกลาง - ฝีมือพิเศษระดับสูง - ฝีมือพิเศษเฉพาะ - เหมือนข้าราชการ ๓๔๕ สายงาน ๔ กลุ่มงาน - บริการพื้นฐาน (56) - สนับสนุน (143) - ช่าง (138) - เทคนิคพิเศษ (8)

  14. ผลของการพัฒนาระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำใหม่ผลของการพัฒนาระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำใหม่ • มีหนทางก้าวหน้าชัดเจนยิ่งขึ้น • มีโอกาสเลื่อนสู่ชั้นงาน/ตำแหน่งที่สูงขึ้นโดยไม่ต้องเปลี่ยนหมวดลักษณะงาน • มีแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองเพื่อก้าวสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น • มีโอกาสได้รับค่าตอบแทนสูงขึ้น เมื่อเลื่อนระดับตำแหน่ง • เกิดความเป็นธรรม/ไม่ลักลั่น ในการบริหารงานบุคคล

  15. บัญชีกำหนดอัตราค่าจ้างของลูกจ้างประจำบัญชีกำหนดอัตราค่าจ้างของลูกจ้างประจำ * หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0428/ว 38 ลงวันที่ 1 เมษายน 2553

  16. สาระสำคัญของ ว 38 บัญชีกำหนดคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งและอัตราค่าจ้าง ขั้นต่ำ - ขั้นสูง รวมทั้งกลุ่มบัญชีค่าจ้างที่ 1 - กลุ่มที่ 4 ที่ใช้เป็นขั้นวิ่งในการเลื่อนขั้นค่าจ้างโดยให้มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 *** กรณีตำแหน่งที่ใช้อัตราค่าจ้าง 2 กลุ่ม จะต้องใช้อัตราค่าจ้าง กลุ่มแรกให้ครบก่อนแล้วจึงใช้อัตรากลุ่มถัดไป เช่น อัตราค่าจ้างกลุ่ม 2 สิ้นสุดที่อัตรา 22,220 เมื่อจะข้ามไปใช้อัตราค่าจ้างกลุ่ม 3 ให้ไปเทียบ อัตราค่าจ้างใกล้เคียงที่สูงกว่า

  17. สาระสำคัญของ ว 38 สาระสำคัญของ ว 38

  18. สาระสำคัญของ ว 38 สาระสำคัญของ ว 38

  19. สาระสำคัญของ ว 38 สาระสำคัญของ ว 38

  20. บัญชีกำหนดอัตราค่าจ้างของลูกจ้างประจำบัญชีกำหนดอัตราค่าจ้างของลูกจ้างประจำ สาระสำคัญของ ว 38

  21. การจัดระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำใหม่ (เฉพาะ กห.) ใหม่ เดิม ๒๑ สายงาน ๓ หมวด - แรงงาน - กึ่งฝีมือ - ฝีมือและสูงกว่าฝีมือ ๘๓ตำแหน่ง ๔ กลุ่มงาน - บริการพื้นฐาน (๘) - สนับสนุน (๓๐) - ช่าง (๔๔) - เทคนิคพิเศษ (๑)

  22. การปรับตำแหน่งลูกจ้างประจำเข้าสู่ระบบใหม่การปรับตำแหน่งลูกจ้างประจำเข้าสู่ระบบใหม่ 1 มีนาคม 2553 ส่วนราชการดำเนินการตามหนังสือเวียน ว 4/2553 โดยหยุดการดำเนินการเกี่ยวกับการปรับระดับตำแหน่ง เปลี่ยนตำแหน่ง และตัดโอนตำแหน่ง ซึ่งสำนักงาน ก.พ. ได้มอบอำนาจให้ส่วนราชการดำเนินการตาม ว5/2547

  23. การปรับตำแหน่งลูกจ้างประจำเข้าสู่ระบบใหม่การปรับตำแหน่งลูกจ้างประจำเข้าสู่ระบบใหม่ 1 – 18 มีนาคม 2553 ส่วนราชการตรวจสอบชื่อตำแหน่ง / หน้าที่โดยย่อที่กำหนด ไว้ในเอกสารว่าครอบคลุมหน้างานหรือไม่ และหากตำแหน่งใดที่มี คนครองอยู่ ไม่ปรากฏชื่อตำแหน่งเดิมในรายการเปรียบเทียบเข้า สู่ระบบใหม่ ให้แจ้งสำนักงาน ก.พ. ภายในวันที่ 18 มี.ค.53

  24. การปรับตำแหน่งลูกจ้างประจำเข้าสู่ระบบใหม่การปรับตำแหน่งลูกจ้างประจำเข้าสู่ระบบใหม่ 18 – 30 มีนาคม 2553 ส่วนราชการทำบัญชีจัดตำแหน่งลูกจ้างประจำเข้าสู่ระบบใหม่ในรูปแบบตารางที่ สำนักงาน กพ. กำหนด โดยให้จัดตำแหน่งตามระดับเดิม

  25. แผนการดำเนินการในภาพรวมแผนการดำเนินการในภาพรวม สม. จัดทำร่าง. อัตราลูกจ้างประจำใหม่ เหล่าทัพ- จัดทำร่างอัตราลูกจ้างประจำใหม่- ปรับย้ายลูกจ้างลงอัตราใหม่ กง.กห. ทำข้อตกลงกับ กค. สม. แก้ไขคำสั่ง กห. ตำแหน่งลูกจ้างประจำ การปฏิบัติในการเบิกจ่าย ให้ย้อนหลัง เม.ย.53

  26. การดำเนินการที่ผ่านมา ( 1 ) จากที่ กห. กำหนดแนวทางการพัฒนาระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำโดยยึดหลักการเช่นเดียวกับ สำนักงาน ก.พ. จึงมีการดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับ กห.ดังนี้ • การแก้ไขคำสั่ง กห. เรื่อง กำหนดตำแหน่งลูกจ้างประจำ • การแก้ไขคำสั่ง กห. เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ – ขั้นสูง ตำแหน่งลูกจ้างประจำของ กห. • การแก้ไขข้อบังคับ กห. ว่าด้วยลูกจ้างประจำ พ.ศ.๒๕๔๒ และข้อบังคับอื่นให้สอดคล้อง

  27. การดำเนินการที่ผ่านมา ( 2 ) • กพ.ทร. ได้แจ้งให้ นขต.ทร. และหน่วยเฉพาะกิจ ทราบและดำเนินการ เมื่อ กห.อนุมัติ/สั่งการ • กห. ( สนผพ.สม. ) ให้หน่วยที่เกี่ยวข้องและเหล่าทัพ แจ้งข้อมูลการพิจารณาและข้อเสนอแนะสำหรับร่างบัญชีตำแหน่งลูกจ้างประจำตามที่ กห. จัดทำขึ้น เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาจัดทำบัญชีตำแหน่งลูกจ้างประจำตามระบบใหม่ในภาพรวมของ กห. และลงคำสั่ง กห. เรื่อง กำหนดตำแหน่งลูกจ้างประจำ • กห.ลงคำสั่ง กห. เรื่อง กำหนดตำแหน่งลูกจ้างประจำ

  28. การดำเนินการที่ผ่านมา ( 3 ) • กพ.ชย.ทร.ได้รวบรวมข้อมูล และจัดทำบัญชีการปรับเปลี่ยนตำแหน่งลูกจ้างประจำเข้าสู่ตำแหน่งตามระบบใหม่ ตามหนังสือ กค ๐๔๒๘/ว.๕๗ ลง ๑๖ มิ.ย.๕๓ • กง.กห.และ สปช.ทร. มีหนังสือแจ้งให้รับทราบและถือปฏิบัติตามกระทรวงการคลัง ( กค. ) ในเรื่องการกำหนดคุณสมบัติตำแหน่ง การแต่งตั้งลูกจ้างประจำไปดำรงตำแหน่งใหม่ และหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของลูกจ้างประจำของส่วนราชการ • ดำเนินการได้ภายหลังจากที่ กห. ออกคำสั่ง กห. เรื่อง กำหนดตำแหน่งลูกจ้างประจำ เรียบร้อยแล้ว

  29. การดำเนินการที่ผ่านมา ( 4 ) • จัดทำกรอบอัตราตำแหน่งลูกจ้างประจำในภาพรวมของ กพ.ชย.ทร.ที่เป็นไปตามบัญชีตำแหน่งลูกจ้างประจำตามระบบใหม่ของ กห. • จัดทำข้อมูลค่าจ้างตามบัญชีตำแหน่งลูกจ้างประจำตามระบบใหม่ • หน่วยเจ้าของอัตราตรวจสอบความถูกต้องของรายชื่อลูกจ้างประจำและข้อมูลอัตราค่าจ้างที่บรรจุในตำแหน่งใหม่

  30. ข้อบังคับ กห. ว่าด้วยลูกจ้างประจำ พ.ศ.2542 และการมอบอำนาจสั่งการ และทำการแทนในนาม ผบ.ทร.( คำสั่ง ทร. ที่ 199/2553 )

  31. ข้อบังคับ กห. ว่าด้วยลูกจ้างประจำ พ.ศ.2542 (1) หมวด 1 ข้อ 9 “การกำหนดชื่อตำแหน่ง หน้าที่โดยย่อ คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง และอัตราค่าจ้างให้เป็นไปตามที่ กห. กำหนด ทั้งนี้ ภายใต้บังคับมติ ครม. ที่เกี่ยวข้องหรือได้รับความเห็นชอบจาก กค. แล้ว ” หมวด 1 ข้อ 11 “ ให้ส่วนราชการขึ้นตรงต่อ กห. ทบ. ทร. หรือ ทอ. ออกระเบียบปลีกย่อยเพื่อปฏิบัติโดยไม่ขัดหรือแย้งกับข้อบังคับนี้ได้ตามความจำเป็น แล้วแจ้งให้ กห. ทราบ”

  32. ข้อบังคับ กห. ว่าด้วยลูกจ้างประจำ พ.ศ.2542 (2) หมวด 2 ข้อ 13 “ การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นลูกจ้างประจำและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งใด ให้ผู้บังคับบัญชาตั้งแต่ชั้นผู้บัญชาการกองพล ผู้บังคับการกองเรือ ผู้บัญชาการกองพลบินหรือเทียบเท่าขึ้นไป หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้งเว้นแต่ลูกจ้างประจำที่บรรจุนั้น ได้รับค่าจ้างเป็นจำนวนเงินเท่ากับอัตราค่าจ้าง ขั้น1 กลุ่มค่าจ้างที่ 2 ขึ้นไป ต้องได้รับอนุมัติจาก รมว.กห. ก่อน ”

  33. ข้อบังคับ กห. ว่าด้วยลูกจ้างประจำ พ.ศ.2542 (3) หมวด 2 ข้อ 17 “ การแต่งตั้งลูกจ้างประจำผู้ดำรงตำแหน่งใดไปดำรงตำแหน่งใหม่ ผู้นั้นต้องมีคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งใหม่ที่กำหนดในข้อ 9 และให้ผู้บังคับบัญชาตามข้อ 13 เป็นผู้สั่งแต่งตั้ง ”

  34. การมอบอำนาจของ ทร. ที่เกี่ยวข้องกับลูกจ้างประจำ ( 1 ) การกำหนดและแก้ไขอัตราลูกจ้างประจำหรือพนักงานราชการ รอง เสธ.ทร. เป็นผู้รับมอบอำนาจ ทร.

  35. การมอบอำนาจของ ทร. ที่เกี่ยวข้องกับลูกจ้างประจำ ( 2 ) การแต่งตั้งลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการให้ดำรงตำแหน่งใหม่ที่เปลี่ยนสายงาน ผช.เสธ.ทร.ฝกพ. เป็นผู้รับมอบอำนาจ ทร.

  36. การมอบอำนาจของ ทร. ที่เกี่ยวข้องกับลูกจ้างประจำ ( 3 ) การแต่งตั้งลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการให้ดำรงตำแหน่งใหม่ที่ไม่เปลี่ยนสายงาน จก.กพ.ทร. เป็นผู้รับมอบอำนาจ ทร.

  37. การมอบอำนาจของ ทร. ที่เกี่ยวข้องกับลูกจ้างประจำ ( 4 ) • การแต่งตั้งลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น รวมทั้งการปรับชั้นตำแหน่งที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ • การย้ายลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการที่ไม่เปลี่ยนชื่อตำแหน่งภายในสังกัดเดียวกัน • การปรับค่าจ้าง การเพิ่มค่าจ้าง การลดขั้นค่าจ้าง ที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และการเลื่อนขั้นค่าจ้าง • หน.นขต.ทร. เป็นผู้รับมอบอำนาจ ทร.

  38. จำนวนสายงานของลูกจ้างประจำของ ชย.ทร. หมวดฝีมือ กลุ่มงานช่าง

  39. จำนวนสายงานของลูกจ้างประจำของ ชย.ทร. รวม (เฉพาะกลุ่มงานช่าง) จำนวน 337 นาย

  40. จำนวนสายงานของลูกจ้างประจำของ ชย.ทร. หมวดแรงงาน กลุ่มงานบริการพื้นฐาน รวม (เฉพาะกลุ่มบริการพื้นฐาน) จำนวน 29 นาย

  41. Thank You ! ถาม - ตอบ

More Related