630 likes | 867 Views
Introduction to Database. 2. Chapter. ระบบจัดการฐานข้อมูล. Introduction to Database. บทนี้มีอะไรบ้าง ?. ประเภทของฐานข้อมูล สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล (Database Architecture) ภาษาที่ใช้ในระบบฐานข้อมูล หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล การทำงานของระบบจัดการฐานข้อมูล คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง.
E N D
Introduction to Database 2 Chapter ระบบจัดการฐานข้อมูล
Introduction to Database บทนี้มีอะไรบ้าง ? • ประเภทของฐานข้อมูล • สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล (Database Architecture) • ภาษาที่ใช้ในระบบฐานข้อมูล • หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล • การทำงานของระบบจัดการฐานข้อมูล • คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
Introduction to Database สรุป บทที่ 1 • ระบบแฟ้มข้อมูลเป็นการจัดเก็บข้อมูลแบบเดิม ซึ่งมีปัญหาในด้านความซับซ้อนของข้อมูล ความไม่สอดคล้องกันของข้อมูล ขาดความยืดหยุ่น ไม่ปลอดภัย เป็นอิสระแก่กัน • ฐานข้อมูลคือการจัดการกลุ่มแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันโดยจะมีซอฟต์แวร์ Database management system (DBMS) ช่วยในการจัดการข้อมูล ซึ่งจะลดข้อเสียของระบบแฟ้มแบบเก่าได้
Introduction to Database สรุป บทที่ 1 • ระบบจัดการฐานข้อมูลหรือDBMSคือซอฟต์แวร์ที่เปรียบเสมือนสื่อกลางระหว่างผู้ใช้และโปรแกรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการใช้ฐานข้อมูลซึ่งมีหน้าที่ช่วยให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้ง่ายสะดวกและ มีประสิทธิภาพ • ผู้บริหารฐานข้อมูล หรือ DBAทำหน้าที่บริหารงานของระบบฐานข้อมูลทั้งหมด
Introduction to Database ประเภทของฐานข้อมูล
Introduction to Database ประเภทของฐานข้อมูล สามารถแบ่งฐานข้อมูลได้เป็น 2 ประเภท ตามลักษณะการใช้ข้อมูล ดังนี้ 1. งานที่มีการเขียนข้อมูลตลอดเวลา(On-Line Transaction Processing: OLTP) คือ งานที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในฐานข้อมูล ไม่ว่าจะเป็น การเพิ่ม แก้ไข หรือลบข้อมูล เราเรียกงานในที่นี้ว่า Transaction
Introduction to Database OLTP(Online Transaction Processing) • เป็นการจัดการข้อมูลรายวัน • มีการ เพิ่ม ลบ แก้ไขข้อมูลได้ตลอดเวลา • ในองค์กรมีผู้ใช้เป็นจำนวนมาก • มักมีการแก้ไขข้อมูลพร้อมๆกันอยู่ตลอดเวลา • ถ้าหากอยากวิเคราะห์ข้อมูลจากระบบ OLTP มักนิยม copy ข้อมูลไปยังอีกเครื่อง เพราะถ้าหากทำในเครื่องปกติที่ทำงานอยู่จะทำให้การทำงานช้า
Introduction to Database 2. งานที่อ่านข้อมูลเป็นหลัก(On-Line Analytical Processing: OLAP) หรือการประมวลผลเชิงวิเคราะห์แบบออนไลน์ เป็นงานที่นำข้อมูลจาก ฐานข้อมูล มาใช้ประโยชน์ โดยไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงข้อมูลแต่อย่างใด
Introduction to Database OLAP(Online Analytical Processing) • คือเทคโนโลยีที่ใช้ดึงข้อมูลจาก Data Warehouse เพื่อนำไปวิเคราะห์และหาคำตอบที่ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ • ช่วยในการตัดสินใจทางธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ • ค้นหาข้อมูลรวดเร็ว • หาผลรวมได้ง่าย และมีประสิทธิภาพ • เรียก ดูข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
Introduction to Database ดาต้าแวร์เฮาส์ (Data Warehouse) • เป็นฐานข้อมูลที่เก็บข้อมูลทั้งในปัจจุบันและในอดีตซึ่งดึงมาจากระบบปฏิบัติการหลายระบบ และนำมารวมกันเพื่อประโยชน์ในการจัดทำรายงานหรือวิเคราะห์ข้อมูล • ดาต้าแวร์เฮาส์ประกอบด้วยเครื่องมือในการถามที่เป็นมาตรฐาน(standardized query tool) เครื่องมือในการวิเคราะห์ และเครื่องมืออำนวยความสะดวกในการทำงานในลักษณะกราฟิก • ดาต้าแวร์เฮาส์สามารถทำการวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงวิเคราะห์แนวโน้ม หรือเจาะหาข้อมูล (drill) ในรายละเอียดเมื่อต้องการได้
Introduction to Database ดาต้าแวร์เฮาส์ (Data Warehouse) การใช้งาน Data Warehouse เกี่ยวข้องกับแอพพลิเคชั่นประเภทต่างๆดังต่อไปนี้ • Data Minindเป็นเครื่องมือของซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ สารสนเทศโดยอัตโนมัติ เพื่อค้นหารูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูล ใน Data Warehouse รวมทั้งพยากรณ์แนวโน้มและพฤติกรรมในอนาคต
Introduction to Database ดาต้าแวร์เฮาส์ (Data Warehouse) • Web Minindรวมข้อมูลที่ได้มาจากบริการ WWW และจะเน้นเฉพาะ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับลูกค้าเป็นหลัก เพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมของลูกค้า ประสิทธิผลของ Website หรือประเมินความสำเร็จของกลยุทธ์ทางการตลาด • Decision Support System (DSS)คือ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ จะวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจ และนำเสนอต่อผู้ใช้ที่มีอำนาจตัดสินใจเพื่อ ช่วยในการตัดสินใจได้ง่ายยิ่งขึ้น
Introduction to Database Data mart • หมายถึง ดาต้าแวร์เฮาส์ขนาดเล็ก ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลขององค์กรบางส่วน สำหรับผู้ใช้กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งโดยเฉพาะ
Introduction to Database ข้อมูลปฏิบัติการ DATA WAREHOUSE แหล่งข้อมูล ภายใน ข้อมูลในอดีต ดาต้า แวร์เฮาส์ การดึง& เปลี่ยนแปลงข้อมูล การเข้าถึง ข้อมูลและ การวิเคราะห์ OLTP OLAP ข้อมูลภายนอก แหล่งข้อมูล ภายนอก ไดเรกทอรี ของสารสนเทศ ข้อมูลภายนอก ส่วนประกอบของดาต้าแวร์เฮาส์
Introduction to Database สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล (Database Architecture)
Introduction to Database สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล (Database Architecture) สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูลรู้จักกันในชื่อ ANSI/SPARCArchitecture แบ่งโครงสร้างออกเป็น 3 ระดับดังต่อไปนี้ 1. ระดับภายนอกหรือ วิว (External Level หรือ View) 2. ระดับแนวคิด (Conceptual Level) 3. นะดับภายใน (Internal หรือ Physical Level)
Introduction to Database EMPLOYEE EMPNUM EMPNAME HIREDATE SALARY POSITION DEPNO MGRNO DEP DEPNO DEPNAME LOCATION PROJECT PROJNO PROJDESC STARTDATE ENDDATA BUDGET PROJWORK PROJNO EMPNO HOURS ระดับภายนอกหรือวิว (External Level, View) • เป็นระดับของข้อมูลที่เป็นภาพที่ผู้ใช้งานมองเห็น (View)เค้าร่างของข้อมูลในระดับนี้เกิดจากภาพและความต้องการของผู้ใช้งาน
Introduction to Database ระดับแนวคิด (Conceptual Level) • ประกอบด้วยเค้าร่างที่อธิบายถึง • บางครั้งเรียกว่า “ระดับตรรกะ” • ฐานข้อมูลมี Entity ใดบ้าง • โครงสร้างของข้อมูล • ข้อมูลเหล่านี้มีความสัมพันธ์กันอย่างไร • กฎเกณฑ์และข้อจำกัดต่างๆ • โดยจะผ่านการวิเคราะห์จาก นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ และผู้บริหารฐานข้อมูล (DBA)
Introduction to Database ระดับภายใน (Internal or Physical Level) • บางครั้งเรียกว่า “ระดับกายภาพ” • ประกอบด้วยเค้าร่างที่เกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลจริงๆ ว่ามีโครงสร้างในการจัดเก็บอย่างไร รวมถึงวิธีการเข้าถึงข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลระดับต่างๆ ซึ่งเป็นการแปลความหมายจากระดับหนึ่งไปยังอีกระดับหนึ่ง เรียกว่า การแปลงส่ง (Mapping) โดยแบ่งเป็น 2 ลักษณะ • การแปลงส่งระหว่างระดับแนวคิดและระดับภายใน (Conceptual/Internal Mapping) • การแปลงส่งระหว่างระดับภายนอกและระดับแนวคิด (External/Conceptual Mapping)
Introduction to Database วิวของผู้ใช้ 1 วิวของผู้ใช้ 2 External Level Conceptual Level เค้าร่างแนวคิด Internal Level เค้าร่างภายใน ฐานข้อมูล
Introduction to Database ความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independence) • ความเป็นอิสระของข้อมูลในเชิงตรรกะ (Logical Data Independence)เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับแนวคิดกับระดับภายนอก นั่นคือถ้ามีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิดจะไม่มีผลต่อระดับภายนอก • ความเป็นอิสระของข้อมูลในเชิงกายภาพ (Physical Data Independence)เป็นความอิสระของข้อมูลในระดับภายในกับระดับแนวคิด นั่นคือถ้ามีปรับปรุงเค้าร่างในระดับภายในโดยจะกระทบต่อระดับภายแนวคิดและระดับภายนอก
Introduction to Database ภาษาที่ใช้ในฐานข้อมูล
Introduction to Database ภาษาที่ใช้ในฐานข้อมูล • ภาษาสำหรับนิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL)เป็นภาษาที่ใช้กำหนดโครงสร้างข้อมูล • ภาษาสำหรับจัดดำเนินการข้อมูล (Data Manipulation Language : DML)เป็นภาษาที่เรียกดู,เปลี่ยนแปลง,เพิ่ม,ลบ ข้อมูล • ภาษาที่ใช้ในการควบคุมข้อมูล (Data Control Language : DCL)เป็นคำสั่งในการควบคุมความถูกต้องและความปลอดภัย
Introduction to Database โดยทั่วไปเราสามารถแบ่งชนิดของ DML ออกเป็น 2 ชนิดคือ 1. Procedural ในการใช้ DML แบบนี้เป็นหน้าที่ของผู้ใช้ที่จะต้อง ระบุว่าอะไร และจะเอาข้อมูลนั้นมาด้วยวิธีการใด 2. Nonprocedural สำหรับ DML แบบนี้ผู้ใช้ที่จะต้องระบุว่า ต้องการข้อมูลอะไร โดยไม่ต้องบอกวิธีการเลย
Introduction to Database ระดับวิว โปรแกรมอำนวยความสะดวกต่าง ๆ โปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมสนับสนุนภาษาคิวรี เช่น PL/SQL (DDL+DML) ภาษาในการเขียนโปรแกรม เช่น COBOL, VB เครื่องมือเฉพาะต่าง ๆ เช่น Form, Report ภาษาฝังตัว (embedded sublanguage) (DDL+DML) ระดับตรรกะ- ใช้ภาษาที่ใช้ในการนิยามข้อมูล (DDL)และ ภาษาที่ใช้ในการจัดการข้อมูล (DML) ระดับกายภาพ - ใช้ภาษาที่ใช้ในการนิยามข้อมูล (DDL) ภาษาที่ใช้ในสภาวะแวดล้อมต่าง ๆ ในฐานข้อมูล
Introduction to Database หน้าที่ของ ระบบจัดการฐานข้อมูล
Introduction to Database หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล DBMS เป็นกลุ่มของ Software ในระบบฐานข้อมูลซึ่งมีหน้าที่ หลากหลายเรียกได้ว่าการทำงานทั้งหมดในระบบฐานข้อมูลต้องทำผ่าน DBMS ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นการจัดเก็บข้อมูล, การควบคุมการเข้าถึงข้อมูล จากผู้ใช้หลายคน, การสำรองและกู้คืนข้อมูล, ภาษาที่ใช้เข้าถึงข้อมูล, การติดต่อสื่อสารกับฐานข้อมูล เป็นต้น ดังนั้น จึงต้องทำความรู้จักกับหน้าที่ต่างๆ ของ DBMS
Introduction to Database หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล (ต่อ) 1. การจัดการ Data Dictionary ตามที่ผู้ใช้ต้องการ - ระบบจัดการฐานข้อมูลจะทำการจัดเก็บนิยามของ ข้อมูล และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลไว้ใน Data Dictionary - เป็นสารสนเทศที่บอกเกี่ยวกับโครงสร้างของฐานข้อมูล - การเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่มีต่อโครงสร้างฐานข้อมูลจะถูกบันทึกไว้โดยอัตโนมัติใน Data Dictionary Data Dictionaryหมายถึง ข้อมูลของข้อมูล (Metadata)ซึ่งก็คือ ข้อมูลที่ใช้อธิบายข้อมูลที่เก็บจริงๆ อีกทีหนึ่ง
Introduction to Database หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล (ต่อ) 2. การจัดเก็บข้อมูลตามความสัมพันธ์ที่กำหนด - เป็นสารสนเทศที่บอกเกี่ยวกับโครงสร้างของฐานข้อมูล - ลดความยุ่งยากในการนิยาม และเขียนโปรแกรม - จัดเก็บกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ใช้ในการตรวจสอบบูรณภาพของ ข้อมูล
Introduction to Database หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล (ต่อ) 3. การแปลงและนำเสนอข้อมูล - ทำหน้าที่ในการแปลงข้อมูลที่ได้รับมา - เพื่อให้สอดคล้องกับโครงสร้างในการจัดเก็บข้อมูล - มีความเป็นอิสระของข้อมูล (เราไม่ต้องยุ่งเกี่ยวกับ ความแตกต่างระหว่างรูปแบบของข้อมูลทางตรรกะและกายภาพ) - ระบบจะแปลงความต้องการเชิงตรรกะของผู้ใช้ให้เป็น คำสั่งที่สามารถดึงข้อมูลทางกายภาพที่ต้องการ
Introduction to Database หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล (ต่อ) 4. การจัดการระบบความมั่นคง - สร้างระบบรักษาความมั่นคง โดยกำหนดรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้า ใช้ระบบ เช่น การอ่าน เพิ่ม ลบ แก้ไขข้อมูล - ระบบฐานข้อมูลแบบที่มีผู้ใช้หลายคน จำเป็นต้องมี การจัดการในเรื่องความมั่นคง
Introduction to Database หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล (ต่อ) 5. การควบคุมการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้หลายคน - มีการใช้อัลกอริทึมที่เหมาะสม เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ใช้หลาย คนสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูลในภาวะพร้อมกัน และคงความ ถูกต้องของข้อมูลไว้ได้
Introduction to Database หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล (ต่อ) 6. การเก็บสำรองและกู้คืนข้อมูลเพื่อความปลอดภัยของข้อมูล - จะมีโปรแกรมเพื่อสนับสนุนการสำรองและกู้คืนข้อมูล เพื่อความปลอดภัยและความมั่นคงของข้อมูลในระบบ - ระบบจะทำการกู้ข้อมูลในฐานข้อมูลคืนหลังจากระบบ Failure เช่น กระแสไฟฟ้าเกิดขัดข้อง เป็นต้น
Introduction to Database หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล (ต่อ) 7. การควบคุมความถูกต้องของข้อมูล - ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล และความไม่สอดคล้องกันของ ข้อมูล - เป็นวิธีทำงานที่ได้รับประสิทธิภาพมากที่สุด
Introduction to Database หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล (ต่อ) 8. ภาษาที่ใช้ในการเข้าถึงฐานข้อมูลและการเชื่อมต่อกับ โปรแกรมประยุกต์ - ระบบเข้าถึงข้อมูลโดยผ่านทางภาษาคิวรี (Query) - ภาษาคิวรีนี้ ผู้ใช้เพียงบอกว่าต้องการ “ทำอะไร” โดยไม่ต้องรู้ ว่า “ทำอย่างไร” - ภาษาคิวรีแบ่งย่อยตามหน้าที่การทำงานได้เป็น 2 ส่วนคือ 8.1 ภาษาที่ใช้ในการนิยามข้อมูล (Data Definition Language - DDL) 8.2 ภาษาที่ใช้จัดการข้อมูล (Data Manipulation Language - DML)
Introduction to Database หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล (ต่อ) 8.1 ภาษาที่ใช้ในการนิยามข้อมูล (Data Definition Language - DDL) - เป็นภาษาที่ใช้กำหนดสกีมาของฐานข้อมูล (Database Schema) - ผลลัพธ์ของการทำงานของคำสั่ง DDL คือ กลุ่มของนิยามของตารางที่มีในฐานข้อมูล และกฎข้อบังคับ - โดยข้อมูลเหล่านี้จะถูกจัดเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลที่มีลักษณะเฉพาะเรียกว่า Data Dictionary
Introduction to Database หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล (ต่อ) 8.2 ภาษาที่ใช้จัดการข้อมูล (Data Manipulation Language - DML) - ในที่นี้ การจัดการข้อมูล หมายถึง การค้นคืนข้อมูลจากฐานข้อมูล ได้แก่ การเพิ่ม, การลบ และการเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูล - DML เป็นภาษาที่ทำให้ผู้ใช้สามารถจัดการกับข้อมูลที่ถูกจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดคือ
Introduction to Database หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล (ต่อ) 8.2.1 ภาษาที่เป็นกระบวนคำสั่ง DML (Procedural DML) - ผู้ใช้ต้องเป็นผู้กำหนดว่าต้องการข้อมูลอะไร และมีวิธีการที่จะทำให้ได้ข้อมูลนั้นมาได้อย่างไร 8.2.2 ภาษาที่ไม่เป็นกระบวนคำสั่ง DML (Nonprocedural DML) - ผู้ใช้กำหนดว่าต้องการข้อมูลอะไร โดยไม่จำเป็นต้องบอกว่ามีวิธีการที่จะทำให้ได้ข้อมูลเหล่านั้นมาได้อย่างไร
Introduction to Database หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล (ต่อ) 9. การติดต่อสื่อสารกับฐานข้อมูล - ระบบจัดการฐานข้อมูลที่ทันสมัยต้องสนับสนุนการเข้าถึง ฐานข้อมูลผ่านทางเครือข่าย Internet - มีกลไกควบคุมการใช้ข้อมูลพร้อมกัน
Introduction to Database การทำงานของ ระบบจัดการฐานข้อมูล
Introduction to Database การทำงานของระบบจัดการฐานข้อมูล - เพื่อให้ตรวจสอบการทำงานและแบ่งหน้าที่ในการทำงานต่าง ๆ ได้ชัดเจน - จึงแบ่งการทำงานออกเป็น Module เพื่อรับผิดชอบการทำงานในแต่ละส่วน - การทำงานของระบบจัดการฐานข้อมูลแบ่งได้เป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ 1. หน่วยประมวลผลคิวรี (Query Processor) 2. ผู้จัดการหน่วยเก็บข้อมูล (Storage manager)
Introduction to Database การทำงานของระบบจัดการฐานข้อมูล (ต่อ) 1. หน่วยประมวลผลคิวรี (Query Processor) มีองค์ประกอบในการทำงานดังนี้ 1.1 ตัวแปลภาษา DML (DMLcompiler) - มีหน้าที่ในการแปลคำสั่ง DML ไปเป็นคำสั่งที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ 1.2 ตัวแปลภาษา DDL - มีหน้าที่ในการแปลคำสั่ง DDL และทำการบันทึกข้อมูลที่ได้ไว้ใน Data Dictionary 1.3 ตัวประมวลผลคิวรี - ทำหน้าที่ในการประมวลผลคำสั่งที่ได้รับมาจากตัวแปลภาษา DML
Introduction to Database การทำงานของระบบจัดการฐานข้อมูล (ต่อ) 2. ผู้จัดการหน่วยเก็บข้อมูล (Storage manager) เป็นโปรแกรม Module ที่ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อระหว่างหน่วยเก็บข้อมูลใน ระบบฐานข้อมูลกับโปรแกรมประยุกต์ และคิวรีที่ส่งเข้าไปในระบบประกอบด้วย 2.1 ผู้จัดการสิทธิและบูรณภาพ - ทดสอบกฎข้อบังคับเกี่ยวกับบูรณภาพของข้อมูลให้ถูกต้องตรวจสิทธิ การเข้าถึงข้อมูล 2.2 ผู้จัดการทรานแซคชัน - ทำให้แน่ใจว่าฐานข้อมูลยังคงอยู่ในสถานะที่ถูกต้องแม้ว่าระบบจะเกิด การล้มเหลมขึ้น และควบคุมการทำงานพร้อมกัน
Introduction to Database การทำงานของระบบจัดการฐานข้อมูล (ต่อ) 2.3 ผู้จัดการแฟ้มข้อมูล - แบ่งพื้นที่บนหน่วยเก็บข้อมูล และกำหนดโครงสร้างข้อมูลที่ใช้ใน การจัดเก็บข้อมูลลงบนดิสก์ 2.4 ผู้จัดการบัฟเฟอร์ - นำเอาข้อมูลจากดิสก์ไปหน่วยความจำหลัก และตัดสินใจว่าข้อมูลใด ที่จะไปอยู่ที่ Cache เป็นส่วนที่สำคัญมาก เพราะต้องทำให้ระบบฐานข้อมูล สามารถทำงานได้กับข้อมูลที่มีขนาดใหญ่กว่าหน่วยความจำหลัก
Introduction to Database การทำงานของระบบจัดการฐานข้อมูล (ต่อ) ในการจัดเก็บข้อมูล ผู้จัดการหน่วยเก็บข้อมูล(Storage manager) ได้มีการใช้โครงสร้างข้อมูลหลายชนิดในการจัดเก็บข้อมูล ดังนี้ 1. แฟ้มข้อมูล - เก็บตัวฐานข้อมูลเอง 2. Data Dictionary – เก็บเมทาดาตาที่เกี่ยวกับโครงสร้างของฐานข้อมูล 3. ดัชนี - เพื่อทำให้เข้าถึงข้อมูลได้เร็ว 4. ข้อมูลทางสถิติ - ถูกใช้ในการประมวลผลเพื่อเลือกสรรแนวทางที่เหมาะสม
Introduction to Database การทำงานของฐานข้อมูล แบบ Client / Server
Introduction to Database การทำงานของฐานข้อมูลแบบ Client / Server • เซอร์ฟเวอร์ (Server) • จัดเก็บตัวฐานข้อมูล และโปรแกรม DBMS • DBMS มีหน้าที่รับคำสั่งจาก Client มาประมวลผล และนำข้อมูลข่าวสาร ที่ Client ต้องการส่งกลับไป • บางครั้งเรียกส่วนนี้ว่า Backend
Introduction to Database การทำงานของฐานข้อมูลแบบ Client / Server • ไคลเอ็นต์ (Client) • จะใช้รันโปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการส่งคำสั่งสำหรับเรียกใช้ฐานข้อมูล ไปยัง Server • เพื่อให้ Server ส่งข้อมูลข่าวสารที่ต้องการกลับมา และนำไปแสดงผลให้ กับผู้ใช้ต่อไป • บางครั้งเรียกส่วนนี้ว่า Frontend
Introduction to Database End users Application Clients DBMS Server Database การทำงานของฐานข้อมูลแบบ client/server
Introduction to Database ข้อดีของระบบ Client/Server • เวลาตอบสนองของระบบที่มีต่อการทำงานน้อยลง • ปริมาณผลลัพธ์ที่ได้มากขึ้น • ประสิทธิภาพการทำงานของ DBMS จะดีขึ้น โดยเฉพาะในกรณีที่ Server มีความสามารถสนับสนุนการทำงานต่าง ๆ ของ DBMS • User Interface มีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น • Client สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้