1 / 54

“ ตา บอด คลำช้าง ” มี ที่มา จากคำ สอนเชิงอุปมาของ พระพุทธเจ้าใน ปฐม กิรสูตร

“ ตา บอด คลำช้าง ” มี ที่มา จากคำ สอนเชิงอุปมาของ พระพุทธเจ้าใน ปฐม กิรสูตร. ปฐมกิรสูตร ทะเลาะวิวาท ทิ่มตำกันด้วยโวหาร ไม่หาสาเหตุ ขาดการมองในองค์รวม. สอนปริญญาตรี. ฝึกอบรมระยะสั้น. ทำเหมือนมหาวิทยาลัย แตย่อส่วน. รับใช้ชุมชน. สอนอนุปริญญา. ทำหลักสูตรราคาถูก. วิทยาลัยชุมชน ไม่ใช่

mirari
Download Presentation

“ ตา บอด คลำช้าง ” มี ที่มา จากคำ สอนเชิงอุปมาของ พระพุทธเจ้าใน ปฐม กิรสูตร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “ตาบอด คลำช้าง” มีที่มาจากคำสอนเชิงอุปมาของพระพุทธเจ้าใน ปฐมกิรสูตร • ปฐมกิรสูตร • ทะเลาะวิวาท • ทิ่มตำกันด้วยโวหาร • ไม่หาสาเหตุ • ขาดการมองในองค์รวม สอนปริญญาตรี ฝึกอบรมระยะสั้น ทำเหมือนมหาวิทยาลัย แตย่อส่วน รับใช้ชุมชน สอนอนุปริญญา ทำหลักสูตรราคาถูก

  2. วิทยาลัยชุมชน ไม่ใช่ มหาวิทยาลัยหารสอง

  3. In 2011 • 2.09 M in HEI including 2 open universities • 1.32 M in limited admission public and • private HEI (35% of 20-24 year cohort) • 0.26 M in private HEI • 0.51 M in 2 open universities มีมหาวิทยาลัยกว่า 170 แห่ง หลายร้อยวิทยาเขต หลายพันสถานที่เปิดสอนนอกที่ตั้ง ถ้าสถาบันอุดมศึกษาใหม่ ทำเหมือนสถาบันอุดมศึกษาอื่น บ้านเมืองไม่ได้อะไรใหม่ เสียเงินทุกคน สถาบันใหม่ต่อท้ายคิวเท่านั้น

  4. ถ้าสถาบันใมห่ทำเหมือนสถาบันอุดมศึกษาเก่า เอาทรัพยากรมาจากไหน โดยเฉพาะครู

  5. ถ้าสถาบันอุดมศึกษาใหม่ทำเหมือนสถาบันอุดมศึกษาเก่า เอาทรัพยากรมาจากไหน โดยเฉพาะครู

  6. แนวทางการพัฒนาอุดมศึกษา การแก้ปัญหาอุดมศึกษา ไร้ทิศทาง ความซ้ำซ้อน ขาดคุณภาพ ขาดประสิทธิภาพ • ให้พัฒนาเพื่อการจัดสถาบันอุดมศึกษา 4 กลุ่ม (Category) คือ • (1) กลุ่มวิทยาลัยชุมชน (Community Colleges) • (2) กลุ่มมหาวิทยาลัยสี่ปี (4 – year University) และ มหาวิทยาลัยศิลปศาสตร์ (Liberal Arts University) • (3) กลุ่มมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเฉพาะทาง(Specialized University) มหาวิทยาลัย Comprehensive • (4) กลุ่มมหาวิทยาลัยวิจัย (Research University) และ มหาวิทยาลัยบัณฑิตศึกษา (Graduate University) กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 – 2565)

  7. วิทยาลัยชุมชน มหาวิทยาลัย 4 ปี มหาวิทยาลัย เฉพาะทาง มหาวิทยาลัย comprehensive มหาวิทยาลัย วิจัย

  8. ปรัชญาของวิทยาลัยชุมชน (1) รองรับหลักพื้นฐานของการสร้างคนให้ชุมชน (2) จัดหลักสูตรตามความต้องการของชุมชน (3) ทำโจทย์จริงจากชุมชน (4)รักษาคนมีประสบการณ์และความรู้เพื่อพัฒนาท้องถิ่นของตน (5)ใช้และระดมทรัพยากรที่มีในพื้นที่ รวมทั้งบริหารร่วมโดยชุมชน สอนคนชุมชน โดยคนชุมชน ใช้โจทย์ชุมชน เพื่อพัฒนาชุมชน กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 – 2565)

  9. กลไกวิทยาลัยชุมชน (1) จัดหลักสูตรอนุปริญญาและการฝึกอาชีพ (2) สร้างกำลังคนคุณภาพและจำนวน เพียงพอต่อภารกิจของชุมชนรองรับการกระจายอำนาจและความรับผิดชอบสู่ท้องถิ่น (3) ร่วมกับมหาวิทยาลัย อาชีวศึกษา ภาคการผลิตจริงและหน่วยงานด้านการพัฒนาแรงงาน เพื่อปรับแรงงานที่ออกจากภาค เกษตร เพื่อเตรียมเข้าสู่ภาคบริการและภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่บริการของวิทยาลัยชุมชน รวมทั้งยกความรู้สมรรถนะทักษะของผู้ทำงานในภาคการผลิตจริง เพื่อเพิ่มผลิตภาพ รองรับการเปลี่ยนงาน และเปลี่ยนอาชีพของพื้นที่บริการ กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 – 2565)

  10. พันธกิจและบทบาทในการพัฒนาสังคมของวิทยาลัยชุมชนพันธกิจและบทบาทในการพัฒนาสังคมของวิทยาลัยชุมชน • ที่กำหนดไว้ในแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี • (1) สร้างความเข้มแข็งชุมชน • (2) การพัฒนาที่ยั่งยืน • (3) ดูแลแรงงานออกจากภาคเกษตร • (4) การเรียนรู้ตลอดชีวิต • (5) การเติมเต็มศักยภาพของบุคคล (Self-actualization)

  11. การวางตำแหน่งวิทยาลัยชุมชน (Positioning)ที่เหมาะสม มีดังนี้ (๑) จัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งและ ตรึงคนอยู่ในพื้นที่ เพื่อผลักดันให้ไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ จัดเป็นลู่วิ่ง มาราธอนไม้สุดท้าย (๒) กลุ่มเป้าหมายหลัก คือ กลุ่มประชากรวัยแรงงาน (Non Age Group)อายุ 22ปีขึ้นไป และเสริมด้วยผู้ด้อยโอกาส การศึกษา (๓) กระบวนการเรียนรู้มุ่งเน้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จาก ประสบการณ์ของผู้เรียน ให้คิดเป็น ทำเป็นและสร้างปัญญา (๔) จัดการเรียนการสอนและฝึกอบรมในเรื่องที่ชุมชนต้องการ และเสริมสร้างให้เกิดนวัตกรรม ประเด็นกำหนดนโยบาย ทิศทาง และยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยชุมชน: มติคณะกรรมการวิทยาลัยชุมชน เมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๓

  12. จำนวนนักศึกษา/ผู้รับบริการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2545-2555

  13. หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอนหลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน • 1. หลักสูตรอนุปริญญา • สาขาวิชาที่เปิดสอนตั้งแต่ปี 2545-2554 จำนวน 20 สาขาวิชา • ในปีการศึกษา 2554 เปิดสอนใน 16 สาขาวิชา อาทิ • การปกครองท้องถิ่น • การศึกษาปฐมวัย • การพัฒนาชุมชน • อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว • เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร • การบัญชี • วิทยาการคอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์ธุรกิจ • การจัดการทั่วไป • การแพทย์แผนไทย • เทคโนโลยีการเกษตร • เทคโนโลยีรถยนต์ • ธุรกิจระหว่างประเทศกลุ่มอินโดจีน • การค้าชายแดน • เกษตรอินทรีย์ • เกษตรและอาหาร ประวัติศาสตร์ที่ไม่ปฏิเสธ

  14. 2. หลักสูตรพัฒนาทักษะและเสริมสร้างประสบการณ์ด้านอาชีพ และคุณภาพชีวิต : เน้นหลักสูตรที่วิทยาลัยชุมชนเป็นกลไกในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับชุมชน อาทิ • หลักสูตรการดูแลผู้ป่วย/ผู้สูงอายุ เทคนิคการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเบื้องต้น มัคคุเทศก์เฉพาะแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ พนักงานสุขภาพชุมชนชายแดน / พนักงานมาลาเรียชุมชน การจัดการความรู้เรื่องการเลี้ยงปูนิ่ม • กลุ่มหลักสูตรการจัดการความรู้เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน เช่น • กลุ่มการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน/ การจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (แม่ฮ่องสอน ตาก ตราด ระนอง) • กลุ่มนวัตกรรม/ผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร (สตูล พังงา สมุทรสาคร หนองบัวลำภู ยโสธร) • กลุ่มนวัตกรรม/ผลิตภัณฑ์ด้านผ้าพื้นเมือง (แพร่ มุกดาหาร อุทัยธานี) ประวัติศาสตร์ที่ไม่ปฏิเสธ

  15. 2. หลักสูตรพัฒนาทักษะและเสริมสร้างประสบการณ์ด้านอาชีพ • และคุณภาพชีวิต : เน้นหลักสูตรที่วิทยาลัยชุมชนเป็นกลไกใน • การสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับชุมชน อาทิ • กลุ่มหลักสูตรที่ดำเนินการร่วมกับหน่วยงานภายนอก อาทิ • หลักสูตรมัคคุเทศก์เฉพาะทะเลชายฝั่ง ของ วชช.สตูล ทำร่วมสมาคมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ผู้จบหลักสูตรจะได้ใบประกอบอาชีพมัคคุเทศก์ ประกอบอาชีพในท้องถิ่นได้) • หลักสูตรการจัดทำเว็บไซต์ซื้อขายออนไลน์ (E-Commerce)หลักสูตรการออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์ด้วยโปรแกรมกราฟิกของ วชช.แม่ฮ่องสอนทำร่วมกับ ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดแม่ฮ่องสอน ประวัติศาสตร์ที่ไม่ปฏิเสธ

  16. 3. หลักสูตร ปวส. และ ปวช. (เฉพาะ วชช. พิจิตร และอุทัยธานี) • หลักสูตร ปวส. ได้แก่ • เครื่องกล • ไฟฟ้ากำลัง • การบัญชี • คอมพิวเตอร์ธุรกิจ(พัฒนาเว็บเพจ) • อิเล็กทรอนิกส์(เทคนิคคอมพิวเตอร์) • งานอิเล็กทรอนิกส์ • หลักสูตร ปวช. ได้แก่ • เครื่องกล (ยานยนต์) • ไฟฟ้ากำลังและอิเล็กทรอนิกส์ (ไฟฟ้ากำลัง) • พาณิชยการ (บัญชี) • พาณิชยการ (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) • ไฟฟ้ากำลังและอิเล็กทรอนิกส์(อิเล็กทรอนิกส์) • โลหะการ(เชื่อมโลหะ) ประวัติศาสตร์ที่ไม่ปฏิเสธ

  17. 4. หลักสูตรประกาศนียบัตร • หลักสูตรประกาศนียบัตรสาขาวิชาอิสลามศึกษา(ซานาวียฮ) • วิทยาลัยชุมชนสตูล • หลักสูตรประกาศนียบัตรสาขาวิชาพนักงานสุขภาพชุมชน • วิทยาลัยชุมชนตาก และมุกดาหาร • หลักสูตรประกาศนียบัตรสาขาวิชาพนักงานสุขภาพชุมชน (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) • วิทยาลัยชุมชนตาก • หลักสูตรประกาศนียบัตรสาขาวิชาพนักงานช่วยเหลือคนไข้ • วิทยาลัยชุมชนตาก สร้างประวัติศาสตร์ใหม่

  18. สู่หลักสูตรฐานภูมิสังคม(วัฒนธรรม, ทรัพยากรธรรมชาติ)- ชุดวิชาโครงการจัดการความรู้เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน • เป็นการขับเคลื่อนนโยบาย 80 : 20 ของ กวชช. และเป้าหมายของแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ที่มุ่งเน้นให้วิทยาลัยชุมชนเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่มีบทบาทในการเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน • ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ได้ขยายกิจกรรมครอบคลุมพื้นที่วิทยาลัยชุมชนทั้ง 20 จังหวัด จากเดิมได้เริ่มดำเนินการในปี 2554 ในวิทยาลัยชุมชน 12 แห่ง ภายใต้ “โครงการจัดการความรู้เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจและสังคมโดยใช้ทุนทางวัฒนธรรม” และ “โครงการการเรียนรู้เกษตรอินทรีย์” อุดมศึกษาจารีต – อุดมศึกษาเพื่อยกระดับบุคคล วิทยาลัยชุมชน - อุดมศึกษาเพื่อยกระดับชุมชนและบุคคล

  19. โครงการจัดการความรู้เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน – ชุดวิชาวชช. • 1. การเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ • 2. การจัดการความรู้สู่การสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจและสังคมโดยใช้ทุนทางวัฒนธรรม (สตูล-อาหารทะเลอันดามัน, พังงา – อาหารพื้นเมืองพังงา) • 3, การจัดการความรู้เพื่อจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน (แม่ฮ่องสอน –CBT) • 4. การพัฒนาทักษะอาชีพสู่มาตรฐานฝีมือแรงงาน • 5. การจัดการความรู้เพื่อสร้างนวัตกรรมชุมชน • 6. การจัดการความรู้เรื่องผ้าพื้นเมือง (แพร่- ผ้าหม้อฮ่อมและผ้าทอพื้นเมือง) • 7. การจัดการความรู้เพื่อสืบสานศิลปะและวัฒนธรรมชุมชน • 8. การจัดการความรู้เพื่อร่วมพัฒนาศูนย์เด็กปฐมวัยในชุมชน • 9. การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา และอาชีพของคนพิการ • 10. การจัดการความรู้เพื่อดูแลผู้สูงอายุ • 11. การพัฒนาศักยภาพชุมชนเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน สร้างประวัติศาสตร์ใหม่

  20. การถอดบทเรียนวิทยาลัยชุมชนสิบปีแรกการถอดบทเรียนวิทยาลัยชุมชนสิบปีแรก • ผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติ ผ่านการศึกษามาด้วยประสพการณ์และ • กระบวนทัศน์การศึกษากระแสหลัก (การศึกษาเพื่อคนวัยเรียน) • สร้างความขัดแย้งกับองค์กรอื่น (กศน. สพฐ. มรภ. สอศ. ศูนย์พัฒนฝีมือแรงงาน ฯ) • ไม่สามารถบอกความแตกต่าง (differentiate) วางตำแหน่ง (positioning) วิทยาลัยชุมชนในระบบอุดมศึกษาได้ • กระบวนทัศน์วชช.ใหม่ • -การศึกษาเพื่อคนวัยทำงาน

  21. การถอดบทเรียนวิทยาลัยชุมชนสิบปีแรกการถอดบทเรียนวิทยาลัยชุมชนสิบปีแรก • หลักสูตรกระแสหลัก (mainstream)/แนวจารีต(traditional) • หลักสูตรมหาวิทยาลัยหารสอง, ครูสอนจากหนังสือ ช้อบ แล้บ ฯ แข็งตัวปรับยาก, One size fits all. • กระบวนทัศน์วชช.ใหม่ • - สอนคนชุมชน โดยคนชุมชน โจทย์ชุมชน รักษา/ยกชุมชน • - สร้างหลักสูตรจากทุนและโอกาสทางภูมิสังคม • - การเรียนรู้ในศตวรรษ 21 : ครูและลูกศิษย์เรียนรู้ด้วยกัน • - จาก “ระบบสายพานการผลิตรถยนต์(Detroit Model)” • สู่ “ระบบสร้างหนัง (Hollywood Model)” จัดการศึกษาแบบ “กองทัพ” สู่ “กองโจร”

  22. การถอดบทเรียนวิทยาลัยชุมชนสิบปีแรกการถอดบทเรียนวิทยาลัยชุมชนสิบปีแรก • หลักสูตรกระแสหลัก/แนวจารีต ใช้ฐานวุฒิการศึกษา เวลา • เรียนตายตัว เรียนตามกำหนด กำหนดระยะเวลาสูงสุด (เหมาะสำหรับคนรับจ้างเรียน) • กระบวนทัศน์วชช.ใหม่ • - เรียนตามความพร้อม (ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง) • - ระบบสะสมหน่วยกิต (credit bank) • - เทียบโอนประสพการณ์ • หลักสูตรฝึกอบรม/ระยะสั้น (more of the same) • กระบวนทัศน์วชช.ใหม่ • - หลักสูตรพัฒนาทักษะและเสริมสร้างประสบการณ์ด้านอาชีพ และคุณภาพชีวิต (ฐานทุนและโอกาสทางภูมิสังคม)

  23. การถอดบทเรียนวิทยาลัยชุมชนสิบปีแรกการถอดบทเรียนวิทยาลัยชุมชนสิบปีแรก • สอนลูกเดียว (รู้ดีกว่าทุกคนในชั้น ในสังคม ผู้บริหารโรงเรียน/ • วิทยาลัย/มหาวิทยาลัย รู้ดีที่สุด) • กระบวนทัศน์วชช.ใหม่ • - การเรียนรู้ในศตวรรษ 21 • - การสร้างองค์ความรู้และบริการฐานภูมิสังคม • - จากความรู้เพื่อการประยุกต์ (knowledge application) ไปสู่ความรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงชุมชนสังคม (knowledge translation) • มองแต่งบประมาณแผ่นดิน • กระบวนทัศน์วชช.ใหม่ • - การกำหนดทิศทาง ความต้องการ การระดมทรัพยากรการมีส่วนร่วมจากชุมชน (โครงสร้างสภาวชช.)

  24. Theoretical limit ช่วงปลายการเปลี่ยนแปลง ไม่มีผลหรือการเปลี่ยนเพิ่มเติม อย่างมีนัยยะสำคัญ Diminishing return Theoretical limit การเปลี่ยนแปลง ช่วงเก็บเกี่ยว ได้ผลมาก เปลี่ยนแปลงเร็วมาก ช่วงเริ่มต้นการเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนช้า เพราะแรงเสียดทาน ความกลัวการเปลี่ยนแปลง เวลา

  25. ????? Corporatization of Thai Higher Education Equalization of Thai Higher Education Liberalization of Thai Higher Education Professionalization of Thai Higher Education

  26. พัฒนาการอุดมศึกษาไทยก่อนโลกาภิวัตน์ (ไพฑูรย์ สินลารัตน์) • ยุคแรก การพัฒนาอุดมศึกษาในเชิงวิชาชีพ(Professionalization) • ยุคสอง การพัฒนาอุดมศึกษาในเชิงเสรีนิยม (Liberalization) • ยุคสาม การพัฒนาอุดมศึกษาในเชิงการเปิดโอกาส(Equalization) • ยุคสี่ การพัฒนาอุดมศึกษาในเชิงของบรรษัท (Corporatization)

  27. อุดมศึกษาไทยกับโลกาภิวัตน์ (ไพฑูรย์ สินลารัตน์) • การทำบัณฑิตให้เป็นคนทันสมัย (Modernizing Thai Graduates) • การทำให้ระบบอุดมศึกษาไทยเป็นธุรกิจการค้า (Commercializing • Thai Higher Education) • การทำให้ระบบอุดมศึกษาไทยจัดการได้ (Managerializing Thai • Higher Education System) • การทำให้อุดมศึกษาไทยเป็นนานาชาติ (Internationalization Thai • Higher Education)

  28. อุดมศึกษาไทยกับโลกาภิวัตน์อุดมศึกษาไทยกับโลกาภิวัตน์ การยึดติดโลกาภิวัตน์ทางอุดมศึกษารูปแบบเดิม อุดมศึกษาไทยและคนไทยจะตกเป็นเครื่องมือของทุนนิยม การค้าและบริโภคนิยมอย่างไม่ลืมหูลืมตา โลกาภิวัตน์ทำให้ไทยวิ่งไล่กวดความคิดและวิธีการของตะวันตกต่อไป ทั่วโลกคิดแบบเดียวกัน กินแบบเดียวกัน ไม่คิดใหม่ ไม่สร้างสรรค์ มีแต่ตามกัน – McDonaldization(รังสรรค์ ธนะพรพันธ์) ความจำเป็นของไทยที่ต้องจัดระบบโลกาภิวัตน์เสียใหม่หรือ มองไปสู่สังคมหลังโลกาภิวัตน์ (Reglobalization, Post Globalization, Glocalization) อุดมศึกษาต้องเป็นผู้นำทางความคิดเรื่องนี้ อุดมศึกษาต้องสร้างโลกาภิวัตน์เชิงรุก (Active Globalization) ในสภาพความหลากหลายและแตกต่างของสถาบันอุดมศึกษา

  29. 1950 Education of 15-48 year workforce(2003) 67 % less than 6-y primary education 10 % lower secondary 10 % upper secondary including junior VE 14 % higher ed. including senior VE 2000 EducationCohorts Primary Secondary VE HE 2050 Poor, uneducated, inequitable and aging Thailand

  30. ปีที่ประชากรวัยทำงานลดลง (อายุ 20-64)

  31. การศึกษาของวัยแรงงาน (สำนักงานสถิติแห่งชาติ สำรวจปี 2552) • จำนวนผู้มีงานทำ / แรงงาน(work force)38.4 ล้านคน • เป็นผู้ที่ไม่ได้รับความคุ้มครองและไม่มีหลักประกันทางสังคมจากการทำงาน –แรงงานนอกระบบ(ประกันสังคม) 24.3 ล้านคน (เกษตรกร แรงงานก่อสร้างและบริการ อาชีพอิสระ) คิดเป็นร้อยละ 63.4 • เป็นแรงงานในระบบ (มีเงินเดือน สวัสดิการรัฐ/เอกชน/สังคมสังคม –บำนาญ บำเหน็จ กบข. ค่ารักษาพยาบาล ฯ) 14.1 ล้านคน(คนของรัฐ 4 ล้านคน) ร้อยละ 36.6 • ระดับการศึกษาของกำลังงานนอกระบบ พบว่า • ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่จบการศึกษาในระดับต่ำกว่าและประถมศึกษาจำนวนประมาณ 16.6 ล้านคน ร้อยละ 68.1 • รองมาเป็นระดับมัธยมศึกษา6.1 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 25.1 ระดับอุดมศึกษา 1.6 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 6.6 ตามลำดับ • กำลังงานนอกระบบเป็นผู้มีการศึกษาในระดับที่ต่ำ

  32. Percentage of workforce (25-46 years) and their education levels (2005) From left : Thailand, Malaysia, Philippines, Indonesia. 6th column : OECD average 2nd from right : Japan

  33. การศึกษาสำหรับผู้อยู่นอกวัยเรียน (กำลังงาน 35 - 40 ล้านคน) แรงงานนอกระบบของไทยทำงานวันละ10 – 12 ชั่วโมง ขัดมาตรฐาน สากล ระบบ “สามแปด” ที่คนงานควรทำงานเพียงวันละ 8 ชั่วโมง พักผ่อน 8 ชั่วโมง และพัฒนาตนเอง ศึกษาหาความรู้ 8 ชั่วโมง คนงานยุโรปและอเมริกาต่อสู้อย่างหนักยาวนานเพื่อระบบสามแปด การพัฒนาความรู้มีทั้ง มิติที่หนึ่งการได้การศึกษาพื้นฐาน สูงขึ้น มิติที่สอง คือการเพิ่มความรู้และทักษะอาชีพ เช่น การพัฒนาทักษะฝีมือและการพัฒนาทักษะรองเช่นการใช้คอมพิวเตอร์ การทำบัญชี การขาย การบริการ การทำอาหาร เป็นต้น ทักษะเหล่านี้จะทำให้คนงานมีรายได้มากขึ้น ถ้าแรงงานสามารถพัฒนาทักษะหลักและทักษะรอง ทำให้มีโอกาสเพิ่มรายได้ตนเองมากขึ้น เช่น คนงานโรงงานอีเล็คโทรนิคส์ ทอผ้า ถ้ามีทักษะการขาย การทำอาหารสามารถหารายได้เสริมจากการขายสินค้าและบริการบางชนิดได้

  34. แรงงานภาคการผลิต ชุนชนจารีตและชุมชนโรงงาน ประเทศไทยในยุคสังคมการเกษตร คนในชุมชนเป็นญาติพี่น้องกมีความเชื่อมโยงทางสายเลือด วัฒนธรรมประเพณี คุณค่าร่วม สังคมเกษตรเป็นชุมชนจารีต(traditional community) เมื่อประเทศเข้าสู่การพัฒนาอุตสาหกรรม เกิดโรงงานและนิคมอุตสาหกรรม เกิดธุรกิจบริการรองรับ พื้นที่ธุรกิจอุตสาหกรรมมีคนนอกพื้นที่อพยพเข้ามาทำงาน เปลี่ยนรูปแบบจากชุมชนจารีตเป็นชุมชนโรงงาน(Plant Community)ตามแนวคิดของ Peter Drucker ประชากรของชุมชนโรงงานมาจากทุกสารทิศ ไม่มีความเกี่ยวพันธุ์ทางสายเลือด วัฒนธรรมประเพณี ตลอดจนคุณค่าร่วม

  35. แรงงานภาคการผลิต ชุนชนจารีตและชุมชนโรงงาน ชุมชนโรงงานที่แปรสภาพมาจากชุมชนจารีต(ภาคกลางและภาค เหนือ)และเคยทำการเกษตรมาก่อน จะพบคนสามชั่วอายุ เป็นกรรมกรขายแรงงานสองชั่วอายุคือ รุ่นแรกเป็นรุ่นปู่ย่าตายายอายุประมาณสี่สิบถึงห้าสิบปี เคยทำการเกษตรมาก่อน จบประถมศึกษาซึ่งเป็นภาคบังคับสมัยก่อน หรืออายุเข้าเกณฑ์ทำงานได้ ออกจากภาคเกษตรสู่ภาคอุตสาหกรรมเป็นกรรมกรแรงงานรายวัน รุ่นแรกนี้ส่วนมากถูกปลดหรือกำลังจะถูกออกจากงานเพราะสูงวัย รุ่นที่สองเป็นรุ่นพ่อแม่อายุประมาณสามสิบเศษ ไม่เคยทำนา จบการศึกษาภาคบังคับหรืออายุเข้าเกณฑ์ทำงานได้ ออกจากโรงเรียนเรียนเข้าโรงงานอุตสาหกรรม จะพบรุ่นที่สามซึ่งเป็นรุ่นหลาน ไม่เคยทำนา ยังเรียนหนังสือและพร้อมจะเป็นกรรมกรโรงงานต่อไปเป็นกรรมกรรุ่นที่สามในครอบครัวเดียวกัน

  36. แรงงานภาคการผลิต ชุนชนจารีตและชุมชนโรงงาน ส่วนชุมชนโรงงานที่เป็นชุมชนอพยพ จะพบกรรมกรขายแรงงาน รุ่นเดียวคือรุ่นพ่อแม่ ถ้ามีลูกก็จะส่งกลับไปอยู่กับปู่ย่าตายาย ชุมชนจารีตที่กรรมกรรุ่นพ่อแม่อพยพมา จะเป็นชุมชนที่มีแต่คนแก่(ปู่ย่าตายาย)และเด็ก เป็น skip- generation community นักสังคมศาสตร์เรียกครอบครัว/ชุมชนแบบนี้ว่า “ ชุมชนครัวเรือนแหว่งกลาง – ครอบครัว/ชุมชนฟันหลอ (Skip generation family/community)” (โดยเทียบฟันที่สมบูรณ์ทั้งแถบ กับฟันที่ฟันหน้าหายไป เหลือแต่ฟันข้าง) ชุมชนฟันหลอนี้เป็นของปรกติในภาคอิสาน หนุ่มสาวอพยพออกไปทำงานโรงงานมาประมาณยี่สิบกว่าปีแล้ว เป็นเงื่อนไขบั่นทอนการพัฒนาเด็กและเยาวชนในหมู่บ้านชนบท เพราะขาดพ่อแม่ที่ดูแลลูก สร้าง และสะสมปัญหาสังคมระยะยาว

  37. รุ่นที่สอง คนงาน ทำนาไม่เป็น รุ่นที่หนึ่ง คนงาน เคยทำนา จะต้องออกจากงาน เพราะแก่ (50+) รุ่นที่สาม ยังไม่เป็นคนงาน ยังเรียน ส่วนมากคงจะเป็นคนงาน จะไม่เคยทำนา ต่อไปประเทศไทย ต้องสอนชาวนาที่ลืมการทำนา ให้ทำนาเป็น สอนลูกหลานชาวนาที่ไม่เคยทำนาให้ทำนาเป็น โรงเรียนสอนควายไถนา (กาสรกสิวิทย์) การเรียนรู้และพัฒนาสามชั่วอายุคน ชุมชนแรงงานแบบจารีตที่ชีวิต ขึ้นอยู่กับสามนิคมอุตสาหกรรม (นิคมสหพัฒน์ นิคมอุตสาหกรรม กบินทร์บุรี เขตอุตสาหกรรมกบินทร์บุรี) การเรียนรู้สามชั่วอายุคนเพื่ออาชีพ คุณภาพชีวิต การช่วยเด็กเยาวชนใกล้ชิดชุมชน ห่างอบายมุข ยึดความดี

  38. การสร้างคน สร้างอาชีพ สร้างชุมชน แบบบูรณาการ

  39. ผู้ประกอบการต้องการแรงงานที่มีวินัย อยู่ร่วมกับผู้อื่น ทำงานเป็นทีม มีแรงดลใจที่พัฒนาตนเอง (พรแสวง) – Affective Domain of Learning แรงงานนอกระบบออมเงินสร้างหมู่บ้านแรงงาน (Plant Community ที่สร้างและบริหารโดยแรงงาน) ต้องการเรียนคอมพิวเตอร์ ภาษา การทำอาหาร เป็นอีกหนึ่งโมเดลที่พัฒนาคนสองช่วงชั้นได้ในที่เดียว

  40. เพิ่มทักษะตรงและทักษะเสริมของแรงงาน เพิ่มรายได้ รายได้และรายจ่าย เฉลี่ยต่อแรงงานหนึ่งคน ในช่วงเวลาชีวิต แรงงานเกษียณช้าลง เพิ่มช่วงเวลามีรายได้ รายได้ส่วนขาด เฉลี่ยต่อแรงงานหนึ่งคน ในช่วงเวลาชีวิต

  41. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรและ Demographic Dividend From the great wave generation-GWG (the peak of baby-boom), to reach the first Demographic Dividend it takes Thailand 42 years. A demographic dividend is the favorable effect of an increase in the share of working aged population on economic growth. ประเทศที่พัฒนาแล้ว ประชาชนรวยและได้รับการศึกษา ก่อนประเทศแก่ ประเทศไทย แก่ก่อนประชาชนรวย และก่อนประชาชนส่วนใหญ่มีการศึกษาอาชีพ (ประเทศไทยแก่และยังโง่ ก่อนรวย)

  42. ประเทศไทยจะเป็นเป้าหมายของแรงงานอยยพจากประเทศเพื่อนบ้านประเทศไทยจะเป็นเป้าหมายของแรงงานอยยพจากประเทศเพื่อนบ้าน เราจะดูแลแรงงานต่างด้าวในฐานะเพื่อนมนุษย์ เราจะใช้ประโยชน์ พัฒนาฝึกอบรม แรงงานต่างด้าว ให้การศึกษาลูกหลานแรงงานต่างด้าวอย่างใด

  43. อาชีวศึกษา วิทยาลัยชุมชน อุดมศึกษา การเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อ คนวัยเรียนและกำลังแรงงาน เป้าหมาย อุดมศึกษากระแสหลัก อุดมศึกษาจารีต คนวัยทำงานประมาณ 40 ล้านคน

  44. ,Non-age group, ผู้ด้อยโอกาส

  45. อุดมศึกษากับเทศาภิวัฒน์จะเป็นจุดเปลี่ยนประเทศ และจุดเปลี่ยนระบบการศึกษาไทย การที่ระบบศึกษาไทยจะเป็นปัญญาของแผ่นดินที่สร้างประเทศไทยให้มีบูรณาการและ ดุลยภาพ น่าจะเป็นปัญญาที่สูงกว่าการไปบ้าเรื่องworld ranking ซึ่งเป็นมายาคติและอำนาจ ทั้ง ๆ ที่ในประเทศนั้นๆเอง ก็จะเอาตัวไม่รอดจากคลื่นวิกฤติอารยธรรมครั้งใหญ่ และควรต้องคิดระบบการศึกษาใหม่ที่เอาชีวิตและการร่วมอยู่เป็นตัวตั้ง นพ.ประเวศ วะสี (2554) เทศาภิวัฒน์ เทศะ - พื้นที่ อภิวัฒน์ - ทำให้ดีขึ้น Area –based Development วิทยาลัยชุมชนเป็น อุดมศึกษาที่ชีวิตและการร่วมอยู่เป็นตัวตั้ง (Inclusive education)

  46. Inclusive higher education Corporatization of Thai Higher Education Equalization of Thai Higher Education Liberalization of Thai Higher Education Professionalization of Thai Higher Education

  47. วิทยาลัยชุมชนอเมริกา-ปัจจุบันมีโปรแกรมการเรียน 4 กลุ่มหลัก • หลักสูตรจบสมบูรณ์ในตัว (Terminal program) • เป็นหลักสูตรเพื่อคนวัยทำงาน สอนให้คนมีความรู้ไปทำงานได้ • สาระหลักสูตรและระยะเวลาเป็นไปตามอาชีพหรืองานใหม่ในชุมชน การเปลี่ยนงานของผู้เรียน การเรียนรู้ตลอดชีวิต • สามารถโอนหน่วยกิตไปเรียนอุดมศึกษาระดับต่อไปได้ ถ้าต้องการ • หลักสูตรเปลี่ยนไปจากธุรกิจอุตสาหกรรม ไอที(10+ปีก่อน) สู่บริการสาธารณสุข • หลักสูตรโอนต่อสู่มหาวิทยาลัย(Transfer program) • จัดเรียนหลักสูตรสองปีแรกของมหาวิทยาลัย(state university) • การโอนหน่วยกิตไปต่อมหาวิทยาลัยทำได้ง่าย(กฎหมายบังคับ) • เป็นหลักสูตรเพื่อคนวัยเรียนและวัยทำงาน

  48. วิทยาลัยชุมชนสหรัฐอเมริกา-ปัจจุบันวิทยาลัยชุมชนสหรัฐอเมริกา-ปัจจุบัน • หลักสูตรโอนต่อสู่มหาวิทยาลัย(Transfer program) • ใช้หลักสูตร ตำรา (และผู้สอนที่ส่วนมากเป็นนักวิชาการเกษียณ)เดียวกับมหาวิทยาลัย • ค่าใช้จ่ายถูกกว่า เรียนใกล้บ้าน • นักศึกษาวัยเรียนช่วงอ่อนไหว ยังอยู่ในสายตาครอบครัว • นักศึกษาได้รับการดูแลใกล้ชิดว่าการเรียนในมหาวิทยาลัย เพราะชั้นเรียนเล็ก • นักศึกษาที่ผ่าน transfer program มีอัตราจบป.ตรีสูงกว่าปรกติ • หลักสูตรปรับพื้นฐาน(Remedial program) • จัดให้ผู้จบ high school (วัยเรียนและวัยทำงาน)ที่พื้นฐานอ่อน ได้ปรับพื้นฐานก่อนเข้ามหาวิทยาลัย

  49. วิทยาลัยชุมชนสหรัฐอเมริกา-ปัจจุบันวิทยาลัยชุมชนสหรัฐอเมริกา-ปัจจุบัน • หลักสูตรเรียนล่วงหน้า(Advanced Placement – AP Program) • จัดให้นักเรียน high school ที่มีความสามารถ เรียนวิชาป.ตรี • ปีที่ 1 ล่วงหน้า สามารถโอนหน่วยกิตเข้ามหาวิทยาลัยได้

More Related