1 / 14

T-Test compare with mean Independent Paired

T-Test compare with mean Independent Paired. http://www.thaiall.com/spss https://www.facebook.com/groups/thaiebook/ http://www.rncc.ac.th/Media/short_course/SPSS.pdf [91 slides] http://www.agro.kmutnb.ac.th/e-learning/yao/spss.pdf [30 slides]

Download Presentation

T-Test compare with mean Independent Paired

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. T-Testcompare with meanIndependentPaired http://www.thaiall.com/spss https://www.facebook.com/groups/thaiebook/ http://www.rncc.ac.th/Media/short_course/SPSS.pdf [91 slides] http://www.agro.kmutnb.ac.th/e-learning/yao/spss.pdf [30 slides] http://hsmi.psu.ac.th/upload/forum/t-test_Thai_version-Dec_11_new_version.pdf [105 slides] http://www.bus.rmutt.ac.th/~natthapart/leturce/Saminar/analysis%20data.pdf [56 slides] April 28, 2014

  2. T-Testเหมาะกับข้อมูลแบบใดT-Testเหมาะกับข้อมูลแบบใด เป็นสถิติที่ใช้ทดสอบต่อไปนี้ - กรณีกลุ่มตัวอย่างหนึ่งกลุ่ม ใช้ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่าง กลุ่มตัวอย่าง กับ ประชากร - กรณีกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่ม - ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน - ทดสอบความแตกต่างของสัดส่วนระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่สัมพันธ์กันเช่น ผลสอบ pre-test และ post-test http://www.watpon.com/stat/statch60.htm

  3. ถ้าทดสอบเรื่องเพศ ก็มักจะใช้ T-Test แต่แบบสอบถามบางฉบับ อาจไม่ได้มี 2 เพศถ้ามีมากกว่า 2 เพศ ก็เห็นใช้ One-way ANOVA ทดสอบสมมติฐานกัน แบบสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีตัวอย่างคำถามที่น่าสนใจ http://thaiall.blogspot.com/2014/04/blog-post_21.html http://www.etda.or.th/internetuserprofile2014/ https://www.facebook.com/download/607361896022156/ict_survey_2557.pdf

  4. One-Sample T Test : Concept น้ำหนักของเด็กหนึ่งขวบ ใน 2 หมู่บ้าน หมู่บ้านใด เป็นตามมาตรฐาน 12 กิโลกรัม สมมติฐาน H0 : u=12 (ค่าเฉลี่ยน้ำหนักเด็กเท่ากับ 12) : >=0.05 H1 : u!=12 (ค่าเฉลี่ยน้ำหนักไม่เท่ากับ 12) : <0.05

  5. One-Sample T Test : Sample DataTest value=12 for 2 variables การใช้ T-Test เปรียบเทียบกลุ่มข้อมูลกับค่าคงที่

  6. One-Sample T-Test : Outputสรุปว่ามีหมู่บ้านเดียวที่ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 12 ค่าสถิตินี้ใช้ตอบได้ว่า หมู่บ้านใดที่มีค่าเฉลี่ย = 12

  7. Independent-Sample T Test : Concept เด็กชายกับเด็กหญิง มีน้ำหนักเท่ากัน สมมติฐาน H0 : m = f (ชายกับหญิงน้ำหนักเท่ากัน) : >=0.05 H1 : m != f (ชายกับหญิงน้ำหนักไม่เท่ากัน) :<0.05 สมมติฐานดูค่า F-Test ว่าแปรปรวนหรือไม่ H0 : u1 = u2 (แปรปรวนเท่ากัน) : >=0.05 H1 : u1 != u2 (แปรปรวนไม่เท่ากับ) :<0.05

  8. Independent-Sample T Test : Dataselect first village compare with sex มีข้อมูล 2 กลุ่ม ทั้ง 2 กลุ่มอิสระจากกัน

  9. Independent-Sample T Test : Output หมู่บ้าน 1 จาก sig พบว่าปฏิเสธ H0 คือ ความแปรปรวนไม่เท่ากัน หรือต่างกัน ดู sig ของ Equal variances Assumed พบว่ายอมรับ H0คือ เด็กชายกับเด็กหญิงน้ำหนักเท่ากัน แต่หมู่บ้านที่ 2 น้ำหนักไม่เท่ากัน

  10. Paired-Samples T Test : Concept คะแนนสอบก่อนเรียน และหลังเรียนไม่แตกต่างกัน สมมติฐาน H0 : U1 = U2 (คะแนนก่อนไม่ต่างหลังเรียน): >=0.05 H1 : U1 != U2 (คะแนนก่อนต่างหลังเรียน) :<0.05

  11. Paired-Samples T Test : Data ค่าสถิตินี้นิยมใช้ สำหรับการวิจัยในชั้นเรียน ว่าก่อนสอน และหลังสอน ผลการใช้เครื่องมือเป็นอย่างไร ทางวิทยาศาสตร์ก็ใช้นะครับ

  12. Paired-Samples T Test : Output เปรียบเทียบคะแนนสอบ พบว่าปฏิเสธ H0คือ ก่อนและหลังสอนคะแนนเฉลี่ยไม่เท่ากัน เปรียบเทียบความพึงพอใจ พบว่ายอมรับ H0 คือ ก่อนและหนังสอนความพึงพอใจเท่ากัน

  13. ต.ย.การใช้ T-TEST ของ ศศิธรเข็มคำ p.32 • สมมติฐานการวิจัย เพศที่ต่างกันส่งผลให้การตัดสินใจเลือกใช้บริการสถานตรวจสภาพรถเอกชนของผู้ใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ในอำเภอเมือง จังหวัดลำปางตามปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดแตกต่างกัน • สมมติฐานทางสถิติ H0: เพศที่ต่างกันส่งผลให้การตัดสินใจเลือกใช้บริการสถานตรวจสภาพรถเอกชนของผู้ใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ตามปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดไม่แตกต่างกัน H1:เพศที่ต่างกันส่งผลให้การตัดสินใจเลือกใช้บริการสถานตรวจสภาพรถเอกชนของผู้ใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ตามปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดไม่แตกต่างกัน • ใช้ T-TEST ทดสอบความแปรปรวน 2 กลุ่มข้อมูล ถ้า T-Test >= 0.05 หมายถึงแปรปรวนปกติ แสดงว่าไม่ต่างกัน ถ้า T-Test < 0.05 หมายถึงแปรปรวนปกติ แสดงว่าต่างกัน • ถ้าพบว่า ต่างกัน ก็ต้องทดสอบค่าเฉลี่ยรายคู่ ว่าคู่ใดแตกต่างกัน

  14. ต.ย.การใช้ T-TEST ของ ศศิธรเข็มคำ ผลคือเพศชายกับหญิง พิจารณาเลือกใช้บริการ สถานตรวจสภาพรถ ตามการจัดจำหน่าย และลักษณะกายภาพ แตกต่างกัน ส่วนสมมติฐานอีก 5 ข้อ ไม่แตกต่างกัน

More Related