1 / 26

การจัดการที่ยั่งยืนด้านทรัพยากรบุคคล

การจัดการที่ยั่งยืนด้านทรัพยากรบุคคล. การวางแผน ทรัพยากรบุคคล. สรรหา. ได้คนดีเข้ามา ในองค์กร. การ คัดเลือก. การฝึกอบรมและการพัฒนา. บุคลากรมีความสามารถและได้เพิ่มพูนความรู้ใหม่ๆ. การจัดการผลการปฏิบัติงาน. บุคลากรที่ดีและเก่งผู้ซึ่งจะทำให้เกิดผลการทำงานที่ดีและความยั่งยืนในระยะยาว.

Download Presentation

การจัดการที่ยั่งยืนด้านทรัพยากรบุคคล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการที่ยั่งยืนด้านทรัพยากรบุคคลการจัดการที่ยั่งยืนด้านทรัพยากรบุคคล

  2. การวางแผน ทรัพยากรบุคคล สรรหา ได้คนดีเข้ามา ในองค์กร การ คัดเลือก การฝึกอบรมและการพัฒนา บุคลากรมีความสามารถและได้เพิ่มพูนความรู้ใหม่ๆ การจัดการผลการปฏิบัติงาน บุคลากรที่ดีและเก่งผู้ซึ่งจะทำให้เกิดผลการทำงานที่ดีและความยั่งยืนในระยะยาว การดูแลทรัพยากรบุคคล การจัดการทรัพยากรบุคคล

  3. หน้าที่ดังกล่าวกระทำด้วยการรับผิดชอบต่อพนักงานและให้เกิดความยั่งยืนได้โดยหน้าที่ดังกล่าวกระทำด้วยการรับผิดชอบต่อพนักงานและให้เกิดความยั่งยืนได้โดย 1. การวางแผนทรัพยากรบุคคล การวางแผนทรัพยากรบุคคล คือ การคาดการณ์จำนวนพนักงานพร้อมคุณสมบัติของพนักงานที่ต้องการในอนาคต Demand Vs Supply

  4. การวางแผนทรัพยากรบุคคลตัวอย่างของการสร้างความยั่งยืนการวางแผนทรัพยากรบุคคลตัวอย่างของการสร้างความยั่งยืน • ความพอประมาณ: จำนวนบุคลากรที่เหมาะสมกับปริมาณงานที่คาด ส่งผลต่อต้นทุนค่าแรงที่ควบคุมได้ • ความมีเหตุผล: วางแผนให้สอดคล้องกับ กลยุทธ์และทิศทางของกิจการ อัตราการเข้าออกของพนักงาน เทคโนโลยีที่ทันสมัยของกิจการ • ภูมิคุ้มกัน: ป้องกันความเสี่ยงจากการ Downsizing เพื่อกระทบขวัญกำลังใจและภาพลักษณ์ของกิจการ

  5. 2. การสรรหา การสรรหาคือ กระบวนการหาและเชิญชวนผู้มีคุณสมบัติ สมัครเข้าร่วมงานกับธุรกิจ การสรรหา ได้แก่ • การประกาศรับสมัครงาน • การเข้าไปสรรหาตามสถาบันการศึกษา • งานหรือนิทรรศการสำหรับตลาดแรงงาน • การสรรหาอินเตอร์เน็ต • การแนะนำจากบุคลากรในกิจการ • การใช้สำนักจัดหางานหรือ Headhunter

  6. การสรรหาทรัพยากรมนุษย์ตัวอย่างของการสร้างความยั่งยืนการสรรหาทรัพยากรมนุษย์ตัวอย่างของการสร้างความยั่งยืน • ความพอประมาณ:ใช้ช่องทางการสรรหาที่เหมาะสมกับกิจการ โดยเฉพาะในด้านค่าใช้จ่าย • ความมีเหตุมีผล:ใช้ช่องทางการสรรหาที่เหมาะสมกับกลุ่มพนักงานที่ต้องการ อาทิ ผู้บริหารระดับสูงผ่านทาง Headhunter • ภูมิคุ้มกันที่ดี:ให้ข้อมูลตามจริงต่อผู้สมัคร และ ใช้ภาพลักษณ์ที่ดีของกิจการเป็นตัวดึงดูด

  7. 3. การคัดเลือก การคัดเลือก คือ กระบวนการตัดสินใจรับคนเข้าทำงาน โดยเป้าหมายของการคัดเลือก คือการได้คนที่เหมาะสมกับงานและคนที่เหมาะสมกับองค์กร โดยมีวิธีการคัดเลือก คือ • การตรวจสอบข้อมูลประวัติ เช่น จากใบสมัครงาน และประวัติย่อ • การสัมภาษณ์ • การสอบข้อเขียน • การทดสอบภาคปฏิบัติ • การตรวจสุขภาพ • การตรวจสอบจากบุคคลอ้างอิง

  8. การคัดเลือกทรัพยากรบุคคลตัวอย่างของการสร้างความยั่งยืนการคัดเลือกทรัพยากรบุคคลตัวอย่างของการสร้างความยั่งยืน • ความพอประมาณ:วิธีในการคัดเลือกที่เหมาะสมกับกิจการ โดยเฉพาะในด้านค่าใช้จ่าย • ความมีเหตุมีผล:คัดเลือกโดยผ่านเกณฑ์ที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการของกิจการ JD and JS • ภูมิคุ้มกันที่ดี:คัดเลือกโดยมุ่งเน้นที่ทัศนคติและความคิดที่ดี

  9. การสรรหาและคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ตัวอย่างของการสร้างความยั่งยืนการสรรหาและคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ตัวอย่างของการสร้างความยั่งยืน ซีพี เซเว่น อีเลฟเว่น ร่วมมือกับสถาบันเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ มอบทุนปริญญาตรี 600 ทุน สร้างมืออาชีพทางด้านการค้าปลีก เพื่อสร้างบุคลากรมืออาชีพ และ คัดเลือกเป็นบุคลากรสำหรับกิจการ

  10. 4. การฝึกอบรมและพัฒนา ให้พนักงานมีความรู้และพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา การเรียนรู้และพัฒนาตนเอง อาจเกิดได้ในรูปแบบ • การเรียนรู้ขณะทำงาน (On the Job Training) • สอนงานโดยพนักงานที่มีประสบการณ์ทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงแนะนำพนักงานที่ยังขาดประสบการณ์ • การได้หมุนเวียนเปลี่ยนไปทำงานที่มีความหลากหลาย เพื่อพัฒนาความรู้ทักษะในด้านต่างๆ • การเรียนรู้นอกงาน (Off the Job Training) • การเข้าฝึกอบรมในเรื่องที่ต้องการที่จะพัฒนาความรู้ความสามารถในเรื่องอื่น • การเข้าร่วม Workshop • Assessment Center • Computer Simulation

  11. การพัฒนาทรัพยากรบุคคลตัวอย่างของการสร้างความยั่งยืนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลตัวอย่างของการสร้างความยั่งยืน • โครงการเสริมคนเก่ง สร้างคนดี กับเครือซิเมนต์ไทย (ฝึกงาน และเตรียมความพร้อม เพื่อเสริมทักษะการทำงานจริง เน้นจริยธรรมและธรรมาภิบาล) • โครงการนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น (คัดเลือกนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ อายุไม่เกิน 35 ปี มีผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ) • โครงการสนับสนุนทุนการศึกษา แก่นิสิตระดับอุดมศึกษาที่มีผลการเรียนและความประพฤติดี

  12. 5. การจัดการผลการปฏิบัติงาน การจัดการผลการปฏิบัติงาน คือ กระบวนการที่ผู้บริหารและพนักงานช่วยกันกำหนดเป้าหมายของผลการปฏิบัติงานที่สอดคล้องถึงเป้าหมายองค์กรในภาพรวม ทั้งประเมินผลการทำงาน ตามเป้าหมาย และให้ข้อมูลป้อนกลับแก่พนักงาน

  13. การจัดการผลการปฏิบัติงานตัวอย่างของการสร้างความยั่งยืนการจัดการผลการปฏิบัติงานตัวอย่างของการสร้างความยั่งยืน • ให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อที่จะให้บุคลากรพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น ไม่ใช่เพื่อตำหนิ • ติในที่ลับ ชมในที่แจ้ง • บอกความเป็นจริงในสิ่งที่เห็นไม่ใช่เป็นความรู้สึกที่เลื่อนลอย ยกตัวอย่างที่ชัดเจน • ให้ผู้ถูกประเมินมีส่วนร่วมและเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น • ผลการประเมินถูกนำไปผูกโยงกับค่าตอบแทนและความก้าวหน้า • กระบวนการประเมินผลการปฏิบัตินี้ต้องยึดตามเงื่อนไขของคุณธรรม และโปร่งใส

  14. 6. การดูแลทรัพยากรบุคคล เพื่อให้ความยั่งยืนมาจากภายใน ทรัพยากรบุคคลขององค์กรต้องมี • ผลตอบแทนที่เป็นธรรม • สภาพแวดล้อมการทำงานที่ดี • สวัสดิการที่เหมาะสมและดึงดูดใจ • พนักงานมีความมั่นคงในอาชีพ • โอกาสในการพัฒนาและเติบโต • มีส่วนร่วมในองค์กร • กระบวนการจูงใจที่เหมาะสม

  15. ความเท่าเทียมภายนอก การสำรวจเงินเดือน เปรียบเทียบกับคนอื่น ความเท่าเทียมภายใน การตีค่างาน ความเท่าเทียมของบุคคล เงินเดือน การจ่ายค่าตอบแทนตามทักษะ การแบ่งปันผลกำไร (Profit-sharing) ค่าตอบแทน ค่าตอบแทนในที่นี้รวมถึงเงินเดือน และค่าจ้างสำหรับตอบแทนการทำงานของ บุคลากร โดยหลักในการให้ค่าตอบแทนต้องเป็นอย่างยุติธรรมและมีเหตุผล นั่นคือ มีความเท่าเทียมภายนอก ความเท่าเทียมภายใน และความเท่าเทียมของบุคคล

  16. สวัสดิการ สวัสดิการจะช่วยทำให้พนักงานมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เมื่อพนักงานมีความสุขก็จะภักดีกับองค์กร อันนำมาซึ่งความยั่งยืน องค์กรอาจให้สวัสดิการในรูปแบบต่างๆ เช่น • Google มีร้านอาหารที่จะให้พนักงานทานได้ฟรี มีร้านรับซักแห้ง ที่ออกกำลังกายในบริษัท มีรถรับส่ง พนักงานที่ติดตั้ง Wi-Fi ที่สามารถเชื่อมต่อเข้าอินเตอร์เน็ตได้ระหว่างทางเดินทาง • Starbucks ให้สิทธิประโยชน์กับพนักงาน Part-Time เหมือนกับพนักงานประจำทุกประการ สวัสดิการอื่นๆ ยังอาจได้แก่มีสถานดูแลเด็ก การช่วยเหลือในเรื่องทุนการศึกษาของบุตร ตารางการทำงานที่ยืดหยุ่นเป็นต้น

  17. การดูแลทรัพยากรบุคคลตัวอย่างของการสร้างความยั่งยืนการดูแลทรัพยากรบุคคลตัวอย่างของการสร้างความยั่งยืน • ชุมพรคาบานา : โครงการอุ้มชู • จัดตั้งบริษัทจำลองในรีสอร์ท • สอน ให้ไอเดีย ให้ทรัพยากร • พัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อเป็นรายได้เสริมของพนักงาน เช่น ไข่สุโข กาแฟไร่สารสิน ผลิตภัณฑ์ของใช้ส่วนตัวออร์กานิกส์ปลอดสารพิษ • สร้างการกินดีอยู่ดี และความสัมพันธ์กับพนักงาน

  18. การทำงานที่ยืดหยุ่น : อีกหนึ่งแนวคิดสร้างสรรค์ความพอใจพนักงานอย่างยั่งยืน • เวลาช่วยสร้างความสุขในการทำงาน และสร้างผลิตผลที่สูงขึ้นในระยะยาว • พนักงานสามารถเข้าทำงานเร็วขึ้นและกลับเร็วขึ้น หรือพนักงานสามารถ เข้ามาทำงานสายและกลับช้ากว่าปกติ • Work Anywhere (Telecommuting work) • Boston Consulting Group บริษัทที่ปรึกษาชื่อดังของโลก จะสอดส่องดูแลหากพบพนักงานคนใดทำงานเกินกว่า 60 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ จะถูกตักเตือนและได้เข้ารับการปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ • SAS ซอฟต์แวร์รายใหญ่ของโลกกำหนดเวลาการทำงานไว้ถึง 4 โมงเย็น พนักงานไม่ได้รับอนุญาตให้ทำงานนอกเวลา หากไม่จำเป็นจริงๆ

  19. ชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงานชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน • สถานที่ทำงานต้องไม่ทำให้เกิดมลพิษกับสิ่งแวดล้อม • เสียง อากาศ แสงสว่าง ต้องเหมาะสมและไม่ก่อให้เกิดความเจ็บป่วยกับพนักงานในระยะสั้นและระยะยาว • สถานที่ทำงานมีความปลอดภัย • ExxonMobil • ติดตั้งเครื่องดักมลพิษจากกระบวนการผลิต • สำรวจสภาพแวดล้อมในโรงงาน ให้สอดคล้องกับมาตรฐานสาธารณสุขระดับโลก • Zero-Accident Workplace

  20. การจูงใจ แรงจูงใจจะช่วยให้พนักงานทำงานได้อย่างทุ่มเทและเติมความสามารถ การสร้างแรงจูงใจ เช่น • การเติบโต : ความรู้สึกว่าผลงานที่ดีได้รับรางวัล ด้วยการได้รับความดีความชอบ ตำแหน่ง สถานะที่สูงขึ้น • การเป็นส่วนร่วม : ความรู้สึกของการได้เติมเต็ม ความภูมิใจในการทำงานร่วมกับผู้อื่น • ความท้าทาย : ความรู้สึกว่างานมีความน่าตื่นเต้น • เป็นประโยชน์ต่อสังคม : ความรู้สึกว่างานที่ทำได้ก่อให้เกิดประโยชน์กับสังคม สร้างคุณค่าและความสำคัญของการทำงาน • การพัฒนาทักษะ : ความรู้สึกว่าได้เสริมเพิ่มความสามารถ ทักษะใหม่ให้กับตนเอง • ความมั่นคง : ความรู้สึกว่าผลงานที่ดีจะทำให้มีงานทำตลอดไป • ความภูมิใจในองค์กร: ความรู้สึกว่าผลงานที่ทำให้เห็นคุณค่า และชื่นชมจากเพื่อนร่วมงาน

  21. การจัดการทรัพยากรบุคคลแบบยั่งยืนการจัดการทรัพยากรบุคคลแบบยั่งยืน • เหมาะสมกับองค์กรทุกขนาด • เพิ่มขวัญกำลังใจ • ลดอัตราการเข้าออก • เพิ่มความผูกพัน และ ความภักดีต่อกิจการ • พนักงานมีความสุข ความพอใจในการทำงาน • พนักงานเกิดความกระตือรือร้นในการทำงาน • องค์กรและพนักงานพัฒนาเติบโตไปด้วยกัน และนำความยั่งยืนมาสู่องค์กรระยะยาว

  22. แนวปฏิบัติกับพนักงาน • ไม่เอาเปรียบพนักงาน • ไม่เลือกปฏิบัติ • เป็นตัวอย่างที่ดีกับพนักงาน • มีสวัสดิการที่เหมาะสม • จัดกิจกรรมสันทนาการให้พนักงาน • มีการฝึกอบรมให้กับพนักงานอย่างดี • มี career path ให้ตามความเหมาะสม • ดูแลพนักงานเหมือนคนในครอบครัว • ให้พนักงานมีความสุขในการทำงาน

  23. หลักการด้านความรับผิดชอบของสังคมของ SME & SE (ต่อ) ๗.๔ แนวปฏิบัติกับพนักงาน • มีการจัดฝึกอบรมและวางแนวทางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • ให้สวัสดิการพนักงานอย่างเพียงพอ • ให้ค่าตอบแทนอย่างยุติธรรม • สร้างวัฒนธรรมและค่านิยมที่ดีในองค์กรโดยมีผู้นำเป็นแบบอย่างที่ดี • ส่งเสริมและสร้างโอกาสความก้าวหน้าให้แก่พนักงานในองค์กร • สร้างบรรยากาศและความปลอดภัยในการทำงานภายในองค์กร

  24. การมีส่วนร่วมกับ ชุมชน

  25. การมีส่วนร่วมกับชุมชนการมีส่วนร่วมกับชุมชน • ใช้แรงงานในท้องถิ่น • สร้างค่านิยมที่ดีและเป็นตัวอย่างให้กับชุมชน • ให้โอกาสคนพิการ • ให้การสนับสนุนกิจกรรมในชุมชน เช่นงานบุญ งานบวช งานศพ • พัฒนาสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับชุมชน • เป็นมิตรกับชุมชน

  26. การมีส่วนร่วมกับชุมชนการมีส่วนร่วมกับชุมชน • เอื้อเฟื้อต่อชุมชน • สนับสนุนชุมชนให้มีงานทำ • เข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน เช่นทำบุญ กีฬา • มีการตรวจสุขภาพอนามัยของคนในชุมชน • ปลูกต้นไม้ให้ชุมชน • สนับสนุนให้คนในชุมชนได้เพิ่มความรู้ • รณรงค์ให้ชุมชนสะอาด • ปลุกจิตสำนึกให้คนรักชุมชน หนูไม่เคยกิน KFC ครับ

More Related