1 / 24

การประชุมชี้แจง เกณฑ์รายรหัส SP 5 และกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

SP 5. การประชุมชี้แจง เกณฑ์รายรหัส SP 5 และกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ ส่วนราชการบริหารส่วนภูมิภาค จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555. พระนครศรีอยุธยานครแห่งการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์

minh
Download Presentation

การประชุมชี้แจง เกณฑ์รายรหัส SP 5 และกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. SP 5 การประชุมชี้แจง เกณฑ์รายรหัส SP 5 และกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ ส่วนราชการบริหารส่วนภูมิภาค จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

  2. พระนครศรีอยุธยานครแห่งการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ แหล่งการค้า การลงทุน อุตสาหกรรมสะอาด เกษตรปลอดภัย เป็นเมืองน่าอยู่ เป้าประสงค์รวม ๑. อนุรักษ์ให้เป็นนครแห่งการเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ๒. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจในระดับสากล ๓. เพิ่มการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัย ๔. พัฒนาให้เป็นเมืองที่ประชาชนอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวควบคู่ กับการเรียนรู้เชิงประวัติศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ ส่งเสริมบริการโลจิสติกส์ การค้า การลงทุนและพัฒนาอุตสาหกรรมสะอาด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ เสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม และพัฒนาคุณภาพวิถีชีวิต ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ พัฒนาแหล่งผลิตสินค้า เกษตรปลอดภัย เป้าประสงค์ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ทางเศรษฐกิจในระดับสากล เป้าประสงค์ เพิ่มมูลค่าด้านการท่องเที่ยว เชิงประวัติศาสตร์ เป้าประสงค์ ผลิตสินค้าเกษตรที่ ปลอดภัยได้มาตรฐาน เป้าประสงค์ พัฒนาให้เป็นเมืองน่าอยู่ กลยุทธ์ ๑. เพิ่มประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการ และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ๒. ส่งเสริมการอำนวยความสะดวกในการ เข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ๓. ส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มจากองค์ความรู้ ด้านประวัติศาสตร์ให้กับธุรกิจและบริการด้าน การท่องเที่ยว ๔. ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์เชิงรุกด้านการ ท่องเที่ยว กลยุทธ์ ๑. สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและองค์ กรเกษตรกร ๒. ปรับปรุงกระบวนการผลิตให้ได้รับการรับรอง มาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัย ๓. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการทางการเกษตรให้เอื้อต่อ การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย ๔. พัฒนาระบบการบริหารจัดการข้อมูลเกษตร กลยุทธ์ ๑. เพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อมของเมืองและชุมชน ๒. พัฒนาและสร้างเครือข่ายความร่วมมือจากทุก ภาคส่วนในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ๓. ส่งเสริมพฤติกรรมทางสังคมและสุขอนามัยที่ดี ของประชาชน กลยุทธ์ ๑. ส่งเสริมปัจจัยที่เอื้อต่อบริการโลจิสติกส์ การค้า การลงทุน และการผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐานโดยใช้ เทคโนโลยีสะอาด ๒. พัฒนาบุคลากรในสถานประกอบการและ เตรียมความพร้อมกำลังแรงงานให้ตรงความ ต้องการของสถานประกอบการ ๓. เพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการและกลไกการ แก้ไขปัญหาผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากภาคธุรกิจ ตัวชี้วัด ๑.ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของการลงทุน ภาคอุตสาหกรรม การค้า และบริการ (ร้อยละ๒.๕) ๒. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของโรงงาน อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีสะอาด (ร้อยละ ๒) ตัวชี้วัด ๑. ร้อยละของรายได้จาก การท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น (ร้อยละ๕) ๒. ร้อยละของนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น (ร้อยละ๕) ๓. ระดับความพึงพอใจของ นักท่องเที่ยว (ร้อยละ๗๐) ตัวชี้วัด ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าสินค้า เกษตรปลอดภัย (ร้อยละ๕) ตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จในการพัฒนาสังคม เมืองน่าอยู่ (๖ ใน ๘ ด้าน) วิสัยทัศน์

  3. การดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 SP 5 SP 5 จังหวัดมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ส่วนราชการประจำจังหวัด และระดับบุคคล (อย่างน้อย 1 หน่วยงาน) อย่างเป็นระบบ หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ (SP)

  4. SP 5 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... A • มีแผนที่ยุทธศาสตร์ในระดับองค์กรและสามารถอธิบายความเชื่อมโยงสอดคล้องอย่างเป็นเหตุเป็นผลได้ชัดเจน ดังนี้ • o ความสอดคล้องกับแผนบริหารราชการแผ่นดิน • o ความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์/แผนพัฒนา กลุ่มจังหวัด • o ความสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ ภารกิจหลัก ยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ ของจังหวัด

  5. SP 5 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... A • แสดงกรอบแนวทางในการกำหนดตัวชี้วัด และถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายลงไปยังระดับบุคคลอย่างน้อย 1 ส่วนราชการประจำจังหวัด • แสดงหลักการ/หลักเกณฑ์การกำหนดเป้าหมายและ เกณฑ์การให้คะแนนที่เหมาะสม สามารถผลักดันให้บรรลุเป้าประสงค์ได้ในระดับกลุ่มงาน/ฝ่าย

  6. SP 5 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... A • มีหลักการ แนวทาง วิธีการที่ชัดเจนและเหมาะสมในการประมวลผลการดำเนินงานและการประเมินผล (การให้คะแนน) เพื่อสรุปเป็นผลคะแนนขั้นสุดท้ายได้ • แสดงกรอบแนวทางในการกำหนดตัวชี้วัด และถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายลงไปยังระดับบุคคลอย่างน้อย 1 หน่วยงาน • แสดงหลักการ/หลักเกณฑ์การกำหนดเป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนนที่เหมาะสม สามารถผลักดันให้บรรลุเป้าหมายการดำเนินงานในระดับบุคลากรได้

  7. SP 5 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... A • มีหลักการ แนวทาง วิธีการที่ชัดเจนและเหมาะสมในการประมวลผลการดำเนินงานและการประเมินผล (การให้คะแนน) เพื่อสรุปเป็นผลคะแนนขั้นสุดท้ายได้ • มีแผนปฏิบัติการประจำปีหรือปฏิทินกิจกรรม(Gantt Chart) โดยแสดงขั้นตอน/กิจกรรมทั้งหมดที่จังหวัดจะต้องดำเนินการเพื่อถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายซึ่งครอบคลุมถึงการดำเนินการตามกระบวนการจัดทำข้อตกลงและประเมินผลทั้งในระดับส่วนราชการประจำจังหวัดและระดับบุคคล (เริ่มตั้งแต่การทบทวนระบบประเมินผลฯ ของปีที่ผ่านมาไปจนถึงขั้นตอนการสรุปผล การประเมินและนำไปเชื่อมโยงกับการจัดสรรสิ่งจูงใจในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555)

  8. SP 5 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... A • มีหลักการกำหนดเป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนนที่เหมาะสม สามารถผลักดันให้บรรลุเป้าหมายได้ • แผนฯ /ปฏิทินกิจกรรมได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหารไม่เกินไตรมาสที่ 2 ของปีงบประมาณและก่อนนำไปใช้งาน • แสดงหลักเกณฑ์ในการประเมินผลสำเร็จของตัวชี้วัดและเป้าหมายที่กำหนดไว้ตามข้อตกลงฯได้ชัดเจน

  9. SP 5 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... A • แสดงถึงแนวทาง/ วิธีการ กรอบระยะเวลาที่จังหวัดกำหนดไว้สำหรับการติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน เพื่อให้ผลการประเมินที่ได้มีความน่าเชื่อถือ และสะท้อนผลสำเร็จของการดำเนินงานได้ชัดเจน และครบถ้วน • 1) ติดตามและรายงานความก้าวหน้าโดยมีความถี่ อย่างน้อย 2 ไตรมาส • 2) กลุ่มเป้าหมาย/ บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการติดตามและรายงานผลเหมาะสม • 3) การสรุปผลการดำเนินงานประจำปี • 4) การตรวจสอบความถูกต้องผลการดำเนินงาน และผล การประเมินที่ได้รับรายงาน (สามารถดำเนินการได้ภายในเดือน ต.ค. 55)

  10. SP 5 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... D • แสดงเอกสาร หลักฐานของการดำเนินการได้ตามขั้นตอน ที่กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการฯ หรือปฏิทินกิจกรรมในการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ซึ่งครอบคลุมถึงการติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินการตามข้อตกลงฯ โดยการพิจารณาทั้งในระดับหน่วยงานและระดับบุคคล • แสดงเอกสาร หลักฐาน ช่องทาง สื่อต่างๆ ที่ใช้ในการสื่อสารให้บุคลากรในสังกัดรับทราบถึงกรอบการประเมินผล และแผนปฏิบัติการฯ หรือ ปฏิทินกิจกรรมในการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย รวมถึงแนวทางการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามข้อตกลงฯ ในทุกระดับ

  11. SP 5 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... D • มีข้อตกลงในการประเมินผลฯ ตามตัวชี้วัดและเป้าหมาย ที่ทำการถ่ายทอดลงไปทั้งในระดับส่วนราชการประจำจังหวัดและระดับบุคคล โดยจัดทำเป็นลายลักษณ์อักษร ได้แล้วเสร็จภายในไตรมาสที่ 2 ของปีงบประมาณ และมีเนื้อหาเกี่ยวกับตัวชี้วัด น้ำหนัก เป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนนที่สามารถใช้ประเมินผลได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยพิจารณา ทั้งในระดับหน่วยงานและระดับบุคคล • แสดงเอกสาร หลักฐานในการติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานและการรายงานผลการดำเนินงานตามข้อตกลงฯ ในทุกระดับทั้งส่วนราชการประจำจังหวัดและบุคคล โดยมีความถี่และผู้เข้าร่วมการประชุม หรือชี้แจง หรือรายงานผลอย่างเหมาะสม (ตรงตามแนวทาง/ วิธีการ/ กรอบระยะ เวลา/กลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้) ทั้งในระดับส่วนราชการประจำจังหวัดและระดับบุคคล

  12. SP 5 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... D • แสดงสรุปผลการประเมิน (ผลคะแนน) ของทุกสำนักงาน และสรุปผลการประเมิน (ผลคะแนน) ของระดับบุคคล และผลสรุปได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหารของจังหวัดภายในเดือนตุลาคม 55 L • สรุปบทเรียนโดยวิเคราะห์ผลการดำเนินงานและสาเหตุของความสำเร็จ/ ไม่สำเร็จ ปัญหา อุปสรรคของการดำเนินงานตามตัวชี้วัดต่างๆ และการดำเนินการตามระบบประเมินผล โดยพิจารณาทั้งในระดับหน่วยงานและระดับบุคคล ดำเนินการภายในเดือน ต.ค. 55

  13. I SP 5 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... • นำบทเรียนที่ได้จากการติดตามประเมินผลฯ มาจัดทำข้อเสนอแนะในการนำไปปรับปรุงการดำเนินงานตามตัวชี้วัด และระบบประเมินผลฯให้ดีขึ้นในอนาคต ทั้งในระดับ ส่วนราชการประจำจังหวัดและระดับบุคคล L • แสดงความเชื่อมโยงระหว่างหลักเกณฑ์การจัดสรรสิ่งจูงใจ กับผลการประเมินที่ได้ มาประกอบการพิจารณาร่วมกันซึ่งเนื้อหาของหลักเกณฑ์ต้องสะท้อนให้เห็นถึงความแตกต่างของสิ่งจูงใจที่จะได้รับตามระดับของผลการประเมิน (ผลคะแนน)

  14. ที่มาของการกำหนดกรอบการประเมินผล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 หลักธรรมาภิบาล Good Governance พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 ประสิทธิภาพ Efficiency ความคุ้มค่าของเงินValue-for-Money ประสิทธิผลEffectiveness คุณภาพQuality ภาระรับผิดชอบ Accountability พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 การมีส่วนร่วมของประชาชนParticipation เปิดเผยโปร่งใสTransparency ตอบสนอง Responsiveness กระจายอำนาจ Decentralization ฉันทามติ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ระบบราชการไทย นิติรัฐ Rule of law

  15. ที่มาของการกำหนดกรอบการประเมินผล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 มาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 “การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ ต้องคำนึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูลการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการแลข้าราชการปฏิบัติก็ได้”

  16. ที่มาของการกำหนดกรอบการประเมินผล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

  17. ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่าง การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบัติราชการ คำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด Financial Perspective ประสิทธิผล (ผลลัพธ์) 50% ประโยชน์สุข ของประชาชน ระดับความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล • ความโปร่งใส ภายนอก • อำนวยความสะดวก • และตอบสนองความ • ต้องการของประชาชน Customer Perspective คุณภาพ 20% • ป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ระดับความสำเร็จของการมีส่วนร่วมของประชาชน ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ • การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร • การเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม Internal Work Process Perspective ประสิทธิภาพ 10% • ปรับปรุงระบบการทำงานให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ การประหยัดพลังงาน ระดับความสำเร็จการปรับปรุงกระบวนงาน ภายใน Learning and Growth Perspective พัฒนาองค์การ 20% • เสริมสร้าง ขีดสมรรถนะ (เก่ง) และจริยธรรม (ดี)ของข้าราชการ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ Strategy Map / Balanced Scorecard

  18. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • มิติที่ 1 • ด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ • ผลการปฏิบัติราชการตามแผนพัฒนาจังหวัด • ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของจังหวัด • ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการบริหารส่วนภูมิภาคจังหวัด • มิติที่ 2 • ด้านคุณภาพการให้บริการ • ความพึงพอใจของผู้รับบริการ • การมีส่วนร่วมของประชาชน มิติที่ 2 (ร้อยละ 20) • มิติที่ 3 • ด้านประสิทธิภาพของ • การปฏิบัติราชการ • การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ • ประสิทธิภาพการควบคุมภายใน มิติที่ 1 (ร้อยละ 50) มิติที่ 3 (ร้อยละ 10) มิติที่ 4(ร้อยละ 20) • มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร • การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)

  19. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ วิเคราะห์ตามพันธกิจของหน่วยงาน คำรับรอง ทราบรายละเอียดของ กรอบการประเมินผลของจังหวัด วิเคราะห์ตามความต้องการของประชาชน ต้องท้าทาย ต้องเป็นประโยชน์กับรัฐ ต้องเป็นประโยชน์กับประชาชน

  20. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  21. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  22. 1. ในกรณีที่ส่วนราชการไม่ได้เป็นเจ้าภาพดำเนินงานโครงการที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ให้นำน้ำหนักในตัวชี้วัดที่ 1.1 และ ตัวชี้วัดที่ 1.2 น้ำหนักรวมร้อยละ 15 ไปรวมกับตัวชี้วัดที่ 3 เป็นร้อยละ 25 2. ในกรณีที่ส่วนราชการไม่ได้เป็นเจ้าภาพตัวชี้วัดตามประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ให้นำน้ำหนักใน ตัวชี้วัดที่ 1.3 น้ำหนักรวมร้อยละ 5 ไปรวมกับตัวชี้วัดที่ 3 เป็นร้อยละ 15 3. ในกรณีที่ส่วนราชการไม่ได้เป็นเจ้าภาพดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ให้นำน้ำหนักในตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละ 20 ไปรวมกับตัวชี้วัดที่ 3 เป็นร้อยละ 30 หมายเหตุ

  23. 4. ในกรณีที่ส่วนราชการไม่ได้เป็นเจ้าภาพดำเนินงานโครงการที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 (ตัวชี้วัดที่ 1.1 และตัวชี้วัดที่ 1.2) และไม่ได้เป็นเจ้าภาพตัวชี้วัดตามประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 (ตัวชี้วัดที่ 1.3) และไม่ได้เป็นเจ้าภาพดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 (ตัวชี้วัดที่ 2) ให้นำน้ำหนักในตัวชี้วัดที่ 1.1-1.3 และตัวชี้วัดที่ 2 น้ำหนักรวมร้อยละ 40 ไปรวมกับ ตัวชี้วัดที่ 3 เป็นร้อยละ 50 5. ในกรณีที่ตัวชี้วัดตามประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 (ตัวชี้วัดที่ 1.3) ตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ (ตัวชี้วัดที่ 2) และตัวชี้วัดที่ได้รับมอบหมายจากกรม/ กระทรวงต้นสังกัด (ตัวชี้วัดที่ 3) เป็นตัวชี้วัดเดียวกัน ให้ส่วนราชการนำตัวชี้วัดดังกล่าวเป็นตัวชี้วัดที่ 2 เท่านั้น หมายเหตุ

  24. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

More Related