1 / 38

ถอดบทเรียน : การเป็นบรรณาธิการเอกสารทางวิชาการ

ถอดบทเรียน : การเป็นบรรณาธิการเอกสารทางวิชาการ. รองศาสตราจารย์ ดร . สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช E-mail: pusomjai@gmail.com. ประสบการณ์ในการร่วมผลิตเอกสารทางวิชาการซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของชุดการเรียนรู้ในระบบทางไกลของ มสธ.

mingan
Download Presentation

ถอดบทเรียน : การเป็นบรรณาธิการเอกสารทางวิชาการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ถอดบทเรียน: การเป็นบรรณาธิการเอกสารทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ดร. สมใจพุทธาพิทักษ์ผลสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชE-mail: pusomjai@gmail.com

  2. ประสบการณ์ในการร่วมผลิตเอกสารทางวิชาการซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของชุดการเรียนรู้ในระบบทางไกลของ มสธ.

  3. การผลิตเอกสารวิชาการในรูปแบบของ “ชุดวิชา” • ต้องอยู่ในรูปแบบของคณะกรรมการเท่านั้น • องค์ประกอบของกรรมการ – คนใน เป็นประธาน บรรณาธิการ กรรมการ เลขานุการ (เจ้าหน้าที่ หรือ อาจารย์) - ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก เป็นกรรมการเนื้อหา - มีอาจารย์ด้านวัดผลและด้านเทคโนโลยีการศึกษา มีเจ้าหน้าที่ ดูแล ขนาดตัวอักษร รูปแบบ การวางภาพ และพิสูจน์อักษร (บก น้อย)

  4. ผู้ทำหน้าที่ “บรรณาธิการ” สำหรับ มสธ. • ต้องเป็นอาจารย์ประจำ และ ต้องเป็นผู้รู้เนื้อหาในตำรานั้น • อื่น ๆ เช่น ต้องผ่านการอบรมการเป็นบรรณาธิการชุดวิชา (ฝึกการอ่านจับใจความ การปรับข้อความให้เหมาะสม การใช้ตัวอักษร สัญญลักษณ์ในการบรรณาธิกร) • มีวุฒิภาวะทางวิชาการ มีความสามารถในการสื่อสารกับผู้เขียน และผู้ดำเนินการพิมพ์ • การเป็นบรรณาธิการจะสมบูรณ์ต่อเมื่อลงมือทำ และทำ “Practice make perfect”

  5. ความหมายของบรรณาธิการความหมายของบรรณาธิการ ราชบัณฑิตยสถาน (๒๕๔๒,หน้า ๖๐๔) ให้คำนิยามไว้ว่า บรรณาธิการ คือ ผู้จัดเลือกเฟ้น รวบรวม ปรับปรุง และรับผิดชอบเรื่องที่ลงพิมพ์ บรรณาธิการจะเป็นผู้ดำเนินการดังกล่าวให้ต้นฉบับงานเขียนสำเร็จเป็นสิ่งพิมพ์ออกเผยแพร่ โดยอาจดำเนินการคนเดียว หลายคนหรือเป็นคณะ และอาจมีคณะที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะ ปริมาณความลึกซึ้งหรือหลากหลาย ความซับซ้อนของส่วนประกอบเนื้อหาหรือโอกาสสำคัญที่จะจัดพิมพ์ต้นฉบับ งานเขียนชิ้นนั้น บรรณาธิกร คือ รวบรวมและจัดเลือกเฟ้นเรื่องลงพิมพ์

  6. จินตนา ใบกาซูยี. (2542). การเขียนสื่อการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ แกรมมี่ การบรรณาธิกรตำราของเราต่างกับต่างประเทศที่มีบุคลากรมืออาชีพหรือบรรณาธิการมืออาชีพมาดำเนินการอย่างจริงจังส่วนใหญ่จะเป็นผู้เขียนตำรา “ด้วยใจรัก” เรียนรู้จากการปฏิบัติตาม ๆ กันมาหรืออาจได้รับการอบรมเบื้องต้นมาบ้างจากสถาบันการศึกษาแต่เมื่อต้องมาปฏิบัติงานอย่างจริงจังมักเกิดความไม่มั่นใจได้แต่อาศัยการศึกษาจากคู่มือปฏิบัติงานบรรณาธิกรที่ผู้มีประสบการณ์ทางด้านนี้ได้รวบรวมไว้ (หน้า๖) การบรรณาธิกรประกอบด้วย การตรวจแก้โครงสร้างเนื้อหาสาระสำคัญ และการตรวจแก้ต้นฉบับทั้งเล่ม(หน้า ๓๒๖)

  7. งานของบรรณาธิการ ก่อนเริ่มต้นบรรณาธิกร • กำหนดรูปแบบการนำเสนอ ของ “ตำรา” หรือ “เอกสารทางวิชาการ” นั้น ๆ กับผู้เขียน เช่น แนวคิด (ความหมาย แผนภูมิ)วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา (พยาธิสภาพ อาการ อาการแสดง การรักษา การพยาบาล (กระบวนการพยาบาล) บรรณานุกรม post test • กำหนดรูปแบบการพิมพ์ (Font, การลำดับย่อหน้า การพิมพ์อื่นๆ) • กำหนดการใช้คำ ศัพท์บัญญัติ ต่าง ๆ

  8. เริ่มต้นบรรณาธิกรในไฟล์เอกสารเริ่มต้นบรรณาธิกรในไฟล์เอกสาร • อ่านเอกสารทั้งหมด หลาย ๆ ครั้ง จนเข้าถึงวิธีการนำเสนอของผู้เขียน (เอกสารหรือไฟล์) • ตั้ง “ธง” เอาไว้ว่าในเนื้อหานั้น ๆ จำเป็นต้อง “มี” เนื้อหาทางวิชาการอะไรบ้าง • ทบทวนเนื้อหาเทียบกับ “ธง” และ “รูปแบบ” • คิดเสมอว่าทำอย่างไรงานจึงจะสมบูรณ์ ในแบบที่เป็นงานของ “ผู้เขียน”

  9. Key points ของบรรณาธิการ • ให้คิดเสมอว่า ถ้าเราเป็น “ผู้อ่าน” อ่านแล้วเข้าใจหรือไม่ • ถ้าจะ “ลงมือ” ต้องแน่ใจว่าทำแล้ว “ดีขึ้นแน่นอน” • แบ่งเนื้อหาเป็น “ส่วนที่ขอแก้ไขให้” (ซึ่งดีขึ้นกว่าเดิม) “ส่วนที่ไม่แน่ใจ” (ซึ่งอาจเป็นเนื้อหาตามหลักวิชาการ หรือ คำที่กำกวมไม่แน่ใจว่าเข้าใจผิดหรือไม่) • หาแหล่งอ้างอิง ก่อน “เจรจา” กับผู้เขียน

  10. เทคนิคการพิมพ์เล็ก ๆ น้อย ๆ ของบรรณาธิการ จาก ทวีศักดิ์ กออนันตกูล และคณะ ข้อแนะนำในการพิมพ์เอกสาร. (2544) • กำหนดฟอนต์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ • ไม่ต้องกดปุ่ม Enter เมื่อจบบรรทัด แต่ให้พิมพ์ไปเรื่อยๆ โปรแกรมจะตัดคำให้อัตโนม้ติ • การตัดคำก่อนจบบรรทัด ให้ใช้ปุ่ม Shift + Enter • การขึ้นหน้าใหม่ก่อนจบหน้าปกติ ให้ใช้ปุ่ม Ctrl + Enter • การใส่ช่องว่าง ให้ใช้เพียง 1 ช่อง • เครื่องหมายวรรคตอน ให้ศึกษาจากการใช้เครื่องหมายวรรคตอน

  11. Show paragraph marks and hidden format symbol

  12. ต้นฉบับ

  13. เคาะ space bar เมี่อกด กด Enter

  14. Space bar = เคาะเว้นวรรค Enter = ขึ้นบรรทัดใหม่

  15. Review -> track changes

  16. ต้นฉบับ บรรณาธิการแก้ด้วย track changes

  17. บรรณาธิการแก้ด้วย track changes ส่วนที่พิมพ์เพิ่ม ส่วนที่ลบออก

  18. ใช้ตารางช่วยบังคับข้อความให้อยู่ในกรอบเดียวกันใช้ตารางช่วยบังคับข้อความให้อยู่ในกรอบเดียวกัน

  19. ตัวช่วยเขียนบรรณานุกรมใน Microsoft word (office 2007 ขึ้นไป)

  20. ตัวช่วยสำหรับการเขียนผลงานวิชาการตัวช่วยสำหรับการเขียนผลงานวิชาการ

  21. http://www.royin.go.th/

  22. ศัพท์ต่างประเทศที่ใช้คำไทยแทนได้ศัพท์ต่างประเทศที่ใช้คำไทยแทนได้

  23. http://www.royin.go.th/upload/300/FileUpload/1111_2640.pdf

  24. 6th edition 5th edition Publication Manual of the American Psychological Association, Sixth Edition by American Psychological

  25. ศูนย์ความรู้ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) http://klc.tistr.or.th/main/index.php

  26. Anti-kobpae

  27. ระบบตรวจสอบความคล้ายกันของเอกสารระบบตรวจสอบความคล้ายกันของเอกสาร http://www.anti-kobpae.in.th/

  28. I don’t have a time. • I’m sick of the text. • It’s not good enough.

More Related