1 / 21

การนำเสนอการอ่านตำราวิชาการ

การนำเสนอการอ่านตำราวิชาการ. Andrew s. tanenbaum. (2003). Computer Network . (4 th ed.) Upper Saddle River , New Jersey: Pearson Education International . http://www.adslthailand.com http://www.nwfusion.com http://www.itu.int http://www.aware.com/

miller
Download Presentation

การนำเสนอการอ่านตำราวิชาการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การนำเสนอการอ่านตำราวิชาการการนำเสนอการอ่านตำราวิชาการ Andrew s. tanenbaum. (2003). Computer Network. (4th ed.) Upper Saddle River, New Jersey: Pearson Education International. http://www.adslthailand.com http://www.nwfusion.com http://www.itu.int http://www.aware.com/ http://www.iec.org/online/tutorials/int_acc/topic04.html

  2. การนำเสนอการอ่านตำราวิชาการการนำเสนอการอ่านตำราวิชาการ ADSL เทคโนโลยีการสื่อสารความเร็วสูง โดย อาจารย์ ธนิต สงวนเนตร คณะสารสนเทศศาสตร์

  3. เนื้อหาโดยสรุป • บทนำ • xDSL คืออะไร • ADSL คืออะไร • ADSL ทำงานอย่างไร • ADSL2/2+ มาตรฐานใหม่ • ประโยชน์และการประยุกต์ใช้ ADSL

  4. บทนำ • การเชื่อมต่อเครือข่ายในปัจจุบัน • เครือข่ายส่วนตัว (Private Network) • เครือข่ายสาธารณะ (Public Data Network : PDNs)

  5. xDSLคืออะไร • DSL ย่อมาจาก Digital Subscriber Line คือ เทคโนโลยีโมเด็มที่ • ทำให้คู่สายทองแดงธรรมดาในระบบโทรศัพท์พื้นฐาน (PSTN) ให้กลายเป็น • สื่อสัญญาณดิจิตอลความเร็วสูง โดยใช้เทคนิคการเข้ารหัสสัญญาณข้อมูล • (Modulation) DSL มีเทคโนโลยีในตระกูลอยู่หลายเทคโนโลยี • HDSL: High bit rate Digital Subscriber Line • SDSL: Symmetric Digital Subscriber Line • IDSL: ISDN Digital Subscriber Line • ADSL: Asymmetric Digital Subscriber Line • RADSL: Rate Adaptive Digital Subscriber Line • VDSL: Very high bit rate Digital Subscriber Line • * PSTN (Public Switch Telephone Network)

  6. xDSLคืออะไร แต่ละเทคโนโลยีมีคุณสมบัติแตกต่างกันดังนี้ (ดูตารางประกอบ) ** เทคโนโลยีที่มีอัตราความเร็วในการรับ-ส่ง ข้อมูลเท่ากันเรียกว่า Symmetric (ความสมมาตร) หากอัตราความเร็วในการรับ-ส่ง ข้อมูลไม่เท่ากันจะเรียกว่า Asymmetric (ความสมมาตร)

  7. xDSLคืออะไร โดยในขณะนี้เทคโนโลยี ADSL เป็นเทคโนโลยีที่ผู้ให้บริการเลือกใช้มากที่สุด เพราะเป็นเทคโนโลยีที่มี ความเร็วสูง และระยะทางที่ทำงานได้ค่อนข้างไกลซึ่งเหมาะสมที่จะนำมาประยุกต์ใช้งานในปัจจุบันมากที่สุด แต่อย่างไร ก็ตามในอนาคตอันใกล้เทคโนโลยี VDSL ซึ่งมีความเร็วสูงถึง 52 Mbps อาจถูก นำมาใช้งานมากขึ้น * โมเด็ม (Modem) : แบบอนาล็อกมีความเร็วในการส่งข้อมูลสูงสุดอยู่ที่ 56 Kbps

  8. ADSLคืออะไร ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line) คือ เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลความเร็วสูงบนข่ายสายทองแดงหรือคู่สายโทรศัพท์ ADSL เป็นเทคโนโลยีในตระกูล xDSL โดยมีลักษณะสำคัญคืออัตราความเร็วในการรับ ข้อมูล (Downstream) และอัตราการเร็วในการส่งข้อมูล (Upstream) ไม่เท่ากัน โดยมีอัตรารับข้อมูลสูงสุดที่ 8 Mbps และอัตราการส่งข้อมูลสูงสุดที่ 1 Mbps โดยระดับความเร็วในการ รับ - ส่ง ข้อมูลจะขึ้นอยู่กับ ระยะทาง และคุณภาพของคู่สายนั้นๆ * Asymmetric : อสมมาตร การรับและส่งข้อมูลมีอัตราไม่เท่ากัน

  9. ADSL คืออะไร เทคโนโลยี ADSL ใช้เทคนิคการเข้ารหัสสัญญาณ โดยการแบ่งย่านความถี่บนคู่สายทองแดงออกเป็น 3 ช่วง คือ ช่วงความถี่โทรศัพท์ (POTS) ช่วงความถี่ของการส่งข้อมูล (Upstream) และช่วงความถี่ในการรับข้อมูล (Downstream) จึงทำให้สามารถส่งข้อมูลและใช้โทรศัพท์ได้ในเวลาเดียวกัน ADSL ถูกพัฒนาให้ใช้ TCP/IP Protocol เป็นหลักซึ่งเป็น Protocol ที่ใช้บนเครือข่าย Internet ทำให้ ADSL สามารถรองรับ Application ในด้าน Multimedia ได้เป็นอย่างดี

  10. ADSLทำงานอย่างไร การทำงานของ ADSL โมเด็ม เกิดขึ้นระหว่างชุมสายโทรศัพท์ (Central Office) โดยผู้ให้บริการต้องติดต้องอุปกรณ์รวมสัญญาณเรียกว่า DSLAM (DSL Access Multiplexer) ในทุกชุมสายที่ให้บริการ ซึ่งจะทำหน้าที่รวมสัญญาณจากผู้ใช้งานในชุมสายโทรศัพท์นั้นๆ จากนั้นข้อมูลจะถูกส่งผ่านเครือข่ายดิจิตอลความเร็วสูง ไปยังศูนย์กลางของผู้ให้บริการ (ดูภาพประกอบ) และจากนั้นผู้ให้บริการ ADSL จะเชื่อมต่อไปยังผู้ให้บริการข้อมูล (Service Provider) เช่น ISPs หรือเครือข่ายขององค์กรที่ต้องการ

  11. ADSLทำงานอย่างไร อุปกรณ์ที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งที่ช่วยให้ ADSL สามารถส่งข้อมูลไปได้พร้อมๆ กับการใช้งานโทรศัพท์ ก็คือ Pots Splitter โดยมีหน้าที่ในการกรองสัญญาณ ที่มีความถี่สูงออกจาก สัญญาณย่านที่มีย่านความถี่ต่ำ

  12. ADSL2/2+ ADSL2/2+ ITU (International Telecommunication Union) ได้รับรองมาตรฐานใหม่ ADSL2 และ ADSL2+ แล้วตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2546 โดย ADSL2 ได้ รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพดีขึ้นทั้งด้านระยะทางและประสิทธิภาพของ สัญญาณในการเชื่อมต่อ ส่วน ADSL2+ นั้นสามารถเพิ่มความเร็วในการรับ ส่งข้อมูลได้สูงถึง 25Mbps เพื่อรองรับ Application Multimedia ที่จะเกิด ขึ้นในอนาคต โดยมาตรฐานใหม่นี้จะสามารถทำงานร่วมกับ ADSL เวอร์ชั่น แรกที่เราใช้กันอยู่ในปัจจุบันได้อย่างไม่มีปัญหา

  13. ADSL2/2+ ด้วยวิธีการเข้ารหัสสัญญาณที่ดีขึ้น (Modulation) ทำให้ ADSL2 มีความเร็ว สูงสุดในการรับข้อมูล (Downstream) เป็น 12 Mbps และสามารถทำงานที่ ระยะไกลกว่าเดิมอีก 600 ฟุต (จากเดิม ADSL สามารถทำงานได้ที่ 8Mpbs และระยะทางสูงสุด 18,000 ฟุต) ส่วนความเร็วในการส่งข้อมูล (upstream) ยังสามารถทำได้ที่ความเร็วเดิมคือ 1Mbps

  14. ADSL2/2+ สำหรับ ADSL2+ นั้นทำงานโดยการใช้ย่านความถี่เพื่อใช้ในการ Modulation สูงขึ้นจากเดิมจะอยู่ที่ 1.1MHz ไปเป็น 2.2MHz ซึ่งทำให้สามารถทำงานได้ที่ ความเร็วถึง 25Mbps (Downstream) โดยจะทำงานได้ที่ระยะทาง 5,000 ฟุต (ประมาณ 1.8 กิโลเมตร จากชุมสาย)

  15. ADSL2/2+

  16. ประโยชน์และการประยุกต์ใช้ADSLประโยชน์และการประยุกต์ใช้ADSL เนื่องจาก ADSL เป็นเทคโนโลยีที่มีความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลสูง การใช้งานสะดวกและประหยัด ADSL สามารถรองรับการทำงานได้ทุกรูป แบบ ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารข้อมูลธรรมดา เช่น การใช้งานอินเตอร์เน็ต การทำงานทางไกล การนำเสนอข้อมูลภาพและเสียง โทรทัศน์ผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ซึ่งมักต้องการความเร็วสูงรวมถึงเทคโนโลยีที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งอาจต้องการความเร็วถึง 1.5 - 6 Mbps หรือแม้กระทั่งการใช้งานเป็นวงจรเชื่อมโยงสำนักงานสาขา การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์จากที่บ้านเข้ามาที่สำนักงานหรือที่เรียกว่า Work at Home ก็เป็นได้

  17. ประโยชน์และการประยุกต์ใช้ADSLประโยชน์และการประยุกต์ใช้ADSL • Internet Access • ADSL ในประเทศไทยจะเน้นการให้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตเป็นหลัก • ที่เรียกว่าอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง โดยผู้ใช้งานสามารถท่องอินเตอร์เน็ตได้ที่ระดับความเร็วตั้งแต่ 128 Kbps ขึ้นไปซึ่งอาจถึง 8Mbps (ในปัจจุบันให้บริการความเร็วสูงสุดที่ 1Mbps) ไม่จำเป็นต้องหมุนโทรศัพท์จึงไม่เสียค่าโทรศัพท์ ไม่มีปัญหาสายหลุด และปัญหาสายไม่ว่าง

  18. ประโยชน์และการประยุกต์ใช้ADSLประโยชน์และการประยุกต์ใช้ADSL 2) LAN Interworking คือการเชื่อมต่อจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งโดยผ่านเครือข่าย ADSL เช่น เชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายภายในของบริษัท (LAN) จากที่บ้าน หรือเชื่อมต่อ สำนักงานใหญ่กับสาขาย่อยโดยผ่านเครือข่าย ADSL ลักษณะการใช้งานจะคล้ายกับการใช้วงจรเช่า (Leased Line) หรือ Frame Relay แต่ ADSL จะมีต้นทุนต่ำกว่ามาก โดยผู้ใช้งานสามารถเลือกระดับความเร็วได้ตามต้องการแต่ก็ต้องยอมรับว่าวงจรเช่าอาจมีความน่าเชื่อถือสูงกว่า

  19. ประโยชน์และการประยุกต์ใช้ADSLประโยชน์และการประยุกต์ใช้ADSL

  20. ประโยชน์และการประยุกต์ใช้ADSLประโยชน์และการประยุกต์ใช้ADSL

  21. The End

More Related