1 / 14

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ. 1. บทนำ. ความเป็นมา.

Download Presentation

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการแผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ

  2. 1. บทนำ

  3. ความเป็นมา ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2547 เห็นชอบให้กระทรวงที่มิใช่กระทรวงนำร่องดำเนินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์และจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการให้ครบทุกกระทรวง ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ดำเนินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวง เป็นแผนระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2548-2551) ขึ้น เพื่อเสนอให้คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบและจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 ของกระทรวงศึกษาธิการต่อไป แผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการฉบับนี้ มุ่งกำหนดยุทธศาสตร์ที่ต้องบริการจัดการทั้งระบบ และปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่งไปสู่มาตรฐานคุณภาพ เพื่อสร้างคนไทยให้เป็นกำลังสำคัญในระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ และเป็นการสร้างชาติให้เป็นสังคมฐานความรู้ ซึ่งสอดคล้องกับกรอบงานในยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติของกระทรวงศึกษาธิการที่ได้ประกาศต่อสาธารณชนอย่างเป็นทางการตั้งแต่วันที่ 18 มีนาคม 2547 ต่อมาได้นำเสนอให้คณะรัฐมนตรีทราบด้วยแล้ว และให้สอดคล้องกับยุทธวิธีการทำงาน ที่นายกรัฐมนตรีได้กล่าวปาฐกถาพิเศษในงานปฏิรูปการศึกษายุคใหม่ (Beyond Educational Reform) เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2547 ซึ่งคาดหวังให้คนไทยได้เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต มีความรู้ ความรับผิดชอบ มีคุณธรรมจริยธรรม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ มีกระบวนการเรียนรู้ที่มีชีวิตชีวา สนุกสนาน มีการเล่นกีฬา ดนตรี ได้ทำกิจกรรมตามความต้องการและความสนใจอย่างมีความสุข รวมทั้งสามารถจัดการความรู้ได้ด้วยตนเอง

  4. โครงสร้างกระทรวงศึกษาธิการโครงสร้างกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ • องค์การมหาชน : • โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ • สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา • สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ • สำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากร • ทางการศึกษา • องค์กรในกำกับ • คุรุสภา • มหาวิทยาลัย/สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ • สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติ • สถาบันภาษา • สถาบันพัฒนาและส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษา สำนักงานรัฐมนตรี สำนักงานปลัดกระทรวง สำนักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา หมายเหตุ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ, สถาบันพัฒนาและส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษา, สถาบันภาษา และ สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติ, อยู่ระหว่างการดำเนินการจัดตั้ง

  5. 2. แผนยุทธศาสตร์กระทรวง

  6. แผนยุทธศาสตร์กระทรวงวิสัยทัศน์: กระทรวงศึกษาธิการเป็นองค์กรหลักในการจัดและส่งเสริมการศึกษาให้ประชาชนมีความรู้ คู่คุณธรรม มีคุณภาพ มีศักยภาพในการพัฒนา ตนเอง พัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาสังคมฐานความรู้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศพันธกิจ : 1. สร้างเสริมโอกาสในการศึกษาให้แก่ประชาชนทุกคน 2. สร้างระบบการศึกษาที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ 3. พัฒนามาตรฐานการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศ

  7. วิสัยทัศน์ (Vision) กระทรวงศึกษาธิการเป็นองค์กรหลักในการจัดการและส่งเสริมการศึกษาให้ประชาชนมีความรู้ คู่คุณธรรม มีคุณภาพ มีศักยภาพในการพัฒนาตนเอง พัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาสังคมฐานความรู้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

  8. พันธกิจ (Mission) 1. สร้างเสริมโอกาสในการศึกษาให้แก่ประชาชนทุกคน 2. สร้างระบบการศึกษาที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ 3. พัฒนามาตรฐานการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพ การแข่งขันของประเทศ

  9. ประเด็นยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์กระทรวงประเด็นยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์กระทรวง

  10. เป้าประสงค์และตัวชี้วัดกระทรวงเป้าประสงค์และตัวชี้วัดกระทรวง

  11. เป้าประสงค์และตัวชี้วัดกระทรวงเป้าประสงค์และตัวชี้วัดกระทรวง

  12. เป้าประสงค์และกลยุทธ์กระทรวงเป้าประสงค์และกลยุทธ์กระทรวง

  13. ภาคผนวก

  14. ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ศักยภาพกระทรวง (SWOT Analysis)

More Related