952 likes | 2.97k Views
การประเมินความเสี่ยง การป้องกัน และการควบคุมอันตราย. 230-334 Safety in Chemical Operations. การประเมินความเสี่ยงในงานอุตสาหกรรม. ( Industrial Risk Assessment ). ทำไมถึงต้องจัดให้มีการประเมินความเสี่ยง. เพราะ....เป็นหนึ่งหน้าที่หนึ่งของ จป.วิชาชีพ.
E N D
การประเมินความเสี่ยง การป้องกัน และการควบคุมอันตราย 230-334 Safety in Chemical Operations
การประเมินความเสี่ยงในงานอุตสาหกรรมการประเมินความเสี่ยงในงานอุตสาหกรรม (Industrial Risk Assessment)
ทำไมถึงต้องจัดให้มีการประเมินความเสี่ยงทำไมถึงต้องจัดให้มีการประเมินความเสี่ยง เพราะ....เป็นหนึ่งหน้าที่หนึ่งของ จป.วิชาชีพ เพราะ....ใช้ประกอบการขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานหรือใบอนุญาตขยายโรงงาน
เทคนิคในการประเมินความเสี่ยงเทคนิคในการประเมินความเสี่ยง
มีเครื่องมือให้เลือกใช้ตามความเหมาะสมกับงานมีเครื่องมือให้เลือกใช้ตามความเหมาะสมกับงาน 1.การจัดตั้งคณะทำงาน 2.การรวบรวมเอกสารและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 3.การจัดทำบัญชีรายการสิ่งที่เป็นความเสี่ยงและอันตราย 4.การบ่งชี้อันตรายและการประเมินความเสี่ยง 5.การจัดทำแผนบริหารจัดการความเสี่ยง 6.การสรุปผลการวิเคราะห์ความเสี่ยง
ชี้บ่งความเป็นอันตรายและความเสี่ยงชี้บ่งความเป็นอันตรายและความเสี่ยง Identify all Hazards & Loss Exposures Evaluate the Risk ประเมินความเสี่ยง Develop Controls กำหนดวิธีควบคุม Implement Controls นำไปปฏิบัติ Review ทบทวน
1.Check List • เป็นวิธีการบ่งชี้อันตราย โดยการนำแบบตรวจไปใช้ในการตรวจสอบเพื่อค้นหาอันตราย • แบบตรวจประกอบด้วยหัวข้อคำถามที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานต่างๆ • นำผลการตรวจมาทำการชี้บ่งอันตราย
ตัวอย่าง Check List ระบบป้องกันอัคคีภัย
ตัวอย่าง Check List ระบบป้องกันอัคคีภัย
ตัวอย่าง Check List ระบบป้องกันอัคคีภัย
ผลการการศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนการดำเนินงานในโรงงานเพื่อการชี้บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ยงด้วยวิธี Checklist Analysis • 1. ผลจากการทำ Checklist • จำนวนตู้สายฉีดน้ำดับเพลิง • ติดตั้งไม่ครอบคลุมพื้นที่ • 2. อันตรายหรือผลที่เกิดขึ้นตามมา • 3. มาตรการป้องกัน / ควบคุมอันตราย • 4. ข้อเสนอแนะ
ผลการการศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนการดำเนินงานในโรงงานเพื่อการชี้บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ยงด้วยวิธี Checklist Analysis • 1. ผลจากการทำ Checklist • จำนวนตู้สายฉีดน้ำดับเพลิง ติดตั้งไม่ครอบคลุมพื้นที่ • ไม่มีระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
ผลการการศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนการดำเนินงานในโรงงานเพื่อการชี้บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ยงด้วยวิธี Checklist Analysis • 2. อันตรายหรือผลที่เกิดขึ้นตามมา • ไม่สามารถระงับเหตุในกรณีเกิดเพลิงไหม้ได้ทัน • อาจทำให้เกิดเพลิงไหม้ลุกลามใหญ่โตได้ถ้าไม่มีคนมาพบเห็น
ผลการการศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนการดำเนินงานในโรงงานเพื่อการชี้บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ยงด้วยวิธี Checklist Analysis • 3. มาตรการป้องกัน / ควบคุมอันตราย ยังไม่มี • 4. ข้อเสนอแนะ • ติดตั้งตู้สายฉีดน้ำดับเพลิงครอบคลุม • ติดตั้งระบบดับเพลิงอัตโนมัติเพิ่มเติม
ผลการการศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนการดำเนินงานในโรงงานเพื่อการชี้บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ยงด้วยวิธี Checklist Analysis
2.What-If Analysis • เป็นการศึกษา วิเคราะห์ ทบทวน เพื่อชี้บ่งอันตรายโดยการตั้งคำถาม • “อะไรจะเกิดขึ้น....ถ้า....” • เพื่อหาคำตอบเพื่อชี้บ่งอันตรายพร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะในการป้องกัน • มักจะใช้ระหว่างการออกแบบระบบหรือแม้แต่การเดินระบบแล้วเพื่อป้องกันการเกิดเหตุที่รุนแรง
ตัวอย่าง คำถามการใช้ What - If Analysis 1.จะเกิดอะไรขึ้นถ้าพนักงานไม่สวมใส่แว่นตากันสะเก็ด 2.จะเกิดอะไรขึ้นถ้ามีสารไวไฟอยู่ใกล้ๆบริเวณที่เจียร 3.จะเกิดอะไรขึ้นถ้าไม่มีการปิดบังสะเก็ดเจียร 4.จะเกิดอะไรขึ้นถ้าจับหินเจียรมือไม่แน่น
3.Hazard and Operability Studied (HAZOP) • เป็นการศึกษา วิเคราะห์ ทบทวน เพื่อชี้บ่งอันตรายและค้นหาปัญหาแล้วประเมินระดับอันตรายหรือปัญหาของระบบต่างๆที่อาจเกิดจากการออกแบบไม่สมบูรณ์หรือไม่ตั้งใจ • ด้วยการตั้งคำถามสมมติสถานการณ์ของการผลิตในภาวะต่างๆที่อาจเกิดขึ้น โดยการใช้ HAZOP GUIDE WORDS • เป็นวิธีการชี้บ่งอันตรายที่มีประสิทธิภาพสูง มีกระบวนการบ่งชี้ที่เป็นระบบ สามารถใช้ได้กับ ระบบท่อ รวมถึงอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลทางสถิติของอุบัติเหตุการประเมินผลทางสถิติของอุบัติเหตุ (Accident: Statistical Evaluation)
การประเมินผลทางสถิติของอุบัติเหตุการประเมินผลทางสถิติของอุบัติเหตุ • การเกิดอุบัติเหตุในโรงงานทุกครั้ง นอกจากจะต้องบันทึกและรายงานแล้ว ยังต้องมีการสอบสวนวิเคราะห์หาสาเหตุของอุบัติเหตุด้วย เพื่อจะได้แก้ไขป้องกันมิให้เหตุการณ์เช่นนั้นเกิดขึ้นอีก
การประเมินผลทางสถิติของอุบัติเหตุการประเมินผลทางสถิติของอุบัติเหตุ • นอกจากนี้ เพื่อให้การป้องกันอุบัติเหตุมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โรงงานจะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลทางอุบัติเหตุในรูปของสถิติพร้อมการวิเคราะห์ประเมินผล • เพื่อให้รู้ว่าเกิดอุบัติเหตุมากน้อยเพียงใด และอุบัติเหตุนั้นร้ายแรงขนาดไหน เพื่อจะได้กำหนดนโยบายในการบริหารความปลอดภัยได้ถูกต้องเหมาะสม ต่อไป ทั้งยั้งอาจสามารถพยากรณ์แนวโน้มในอนาคตได้ด้วย
วัตถุประสงค์และประโยชน์ของการจัดทำสถิติอุบัติเหตุวัตถุประสงค์และประโยชน์ของการจัดทำสถิติอุบัติเหตุ • เพื่อทราบจำนวนการเกิดอุบัติเหตุและความสูญเสียที่เกิดขึ้นในแต่ละปีรวมทั้งรายละเอียดต่าง ๆ เช่น ลักษณะการประสบอันตราย สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุ ส่วนของร่างกายที่ประสบอันตราย ฯลฯ ข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากในการวางแผน และเตรียมการหาวิธีป้องกันอุบัติเหตุในอุตสาหกรรมและเป็นแนวทางในการพิจารณาปรับปรุงแก้ไขวิธีการทำงาน และสภาพการทำงานให้ปลอดภัยยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์และประโยชน์ของการจัดทำสถิติอุบัติเหตุวัตถุประสงค์และประโยชน์ของการจัดทำสถิติอุบัติเหตุ • เพื่อนทราบถึงอัตราความร้ายแรงและความถี่ของการประสบอันตรายตามแนวสากลซึ่งสามารถนำไปเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างโรงงานต่อโรงงาน หน่วยงานต่อหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกประเทศได้
วัตถุประสงค์และประโยชน์ของการจัดทำสถิติอุบัติเหตุวัตถุประสงค์และประโยชน์ของการจัดทำสถิติอุบัติเหตุ • เพื่อประเมินการประสบอันตรายที่เกิดขึ้นในแต่ละแผนก ในหน่วยงานหรือโรงงาน ถ้าแผนกใดหรือหน่วยงานใดมีอัตราการประสบอันตรายสูงกว่าปกติ ก็เป็นหน้าที่ของฝ่ายบริหาร หรือฝ่ายความปลอดภัยจะต้องหาทางพิจารณาป้องกัน
วัตถุประสงค์และประโยชน์ของการจัดทำสถิติอุบัติเหตุวัตถุประสงค์และประโยชน์ของการจัดทำสถิติอุบัติเหตุ • เพื่อเป็นแนวทางสำหรับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย (Safety Officer) .ในการปรับปรุงหรือวางแผนการตรวจความปลอดภัย โดยพิจารณาจากข้อมูลของสถิติการประสบอันตรายนี้ เช่น โรงงานหรือกิจการใดที่มีการประสบอันตรายมาก อาจวางแผนการตรวจเป็นพิเศษ หรือจัดอันดับการตรวจไว้ก่อน เป็นต้น
การคำนวณอัตราการเกิดอุบัติเหตุการคำนวณอัตราการเกิดอุบัติเหตุ • เพื่อให้การเปรียบเทียบสถิติของอุบัติเหตุในโรงงานประเภทต่าง ๆ หรือหน่วยงานต่าง ๆ ในโรงงานเดียวกันเป็นไปได้อย่างถูกต้อง จึงต้องมีการกำหนดให้มีมาตรฐานอย่างเดียวกัน • โดยคิดเป็นจำนวณตรั้งหรือความร้ายแรงของอุบัติเหตุภายใน 1,000,000 ชั่วโมงคนงาน (Man-hours) • อัตราที่นิยมใช้ในการคำนวณเกี่ยวกับสถิติอุบัติเหตุ ได้แก่ อัตราความถี่ของอุบัติเหตุ และอัตราความร้ายแรงของอุบัติเหตุ
โดยจำนวนชั่งโมงทำงานของคนงาน ประมาณว่าปีหนึ่ง คนงานคนหนึ่งทำงานได้ 50 สัปดาห์ สัปดาห์หนึ่งทำงาน 48ชั่วโมง หรือวันละ 8 ชั่วโมง ปีหนึ่งจึงมีชั่วโมงทำงานประมาณ 2,400ชั่วโมง
อัตราความร้ายแรงของอุบัติเหตุ (Severity rate) คือการคำนวนหาความร้ายแรงของการเกิดอุบัติเหตุโดยวัดจากเวลาทำงานที่เสียไปเนื่องจากการเกิดอุบัติเหตุต่อชั่วโมงทำงาน 1,000,000 ชั่วโมง กำหนดเป็นสูตรคำนวณได้ดังนี้
กรณีพิการ วันทำงานที่จะเสียไปพิจารณาวันทำงานที่จะเสีบไปแยกตามส่วนของร่างกายที่ประสบอันตราย สำหรับการทำงานไม่ได้ชั่วคราว ในที่นี้จะประมาณวันทำงานที่เสียไปเฉลี่ย ดังนี้
การทำงานไม่ได้ชั่วคราวแบ่งเป็น การหยุดงานเกิน 3 วัน และหยุดงานไม่เกิน 3 วัน • ผู้ประสบอันตรายที่หยุดงานไม่เกิน 3 วัน ส่วนใหญ่หยุดงานประมาณ 2 วัน มีประมาณ 17,427 คน • ผู้ที่หยุดงานเกิน 3 วัน ส่วนใหญ่หยุดงานประมาณ 7 วัน มีประมาณ 21,649 คน • ดังนั้นวันทำงานที่จะเสียไปโดยเฉลี่ยเท่ากับผลรวมของผลคูณระหว่างจำนวณวันทำงานที่เสียไปกับโอกาศที่จะเกิดอุบัติเหตุจนต้องสูญเสียวันทำงานนี้
สูตร โดยที่ X คือ วันทำงานที่จะเสียไป F(X) คือ โอกาสที่ผู้ประสบอันตรายจะมีวันทำงานที่เสียไป X วัน ดังนั้น วันทำงานที่เสียไปโดยเฉลี่ย = 4.77ประมาณ 5วัน และอัตราความร้ายแรงนี้เป็นประมาณที่ใกล้เคียงเท่านั้น