631 likes | 2.85k Views
การพยาบาลโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด. ส่งเลือดไปฟอกที่ปอด. ส่งเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกาย. ระบบการไหลเวียนของเลือดเพื่อไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย. หัวใจห้องขวาไหลไปปอดเพื่อรับออกซิเจน หัวใจห้องซ้ายส่งเลือดที่ฟอกจากปอดแล้วไปเลี้ยงทั่วร่างกาย. หัวใจห้องบนซ้าย. หัวใจห้องบนขวา. หัวใจห้องล่างซ้าย.
E N D
การพยาบาลโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดการพยาบาลโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
ส่งเลือดไปฟอกที่ปอด ส่งเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกาย
ระบบการไหลเวียนของเลือดเพื่อไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายระบบการไหลเวียนของเลือดเพื่อไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย หัวใจห้องขวาไหลไปปอดเพื่อรับออกซิเจน หัวใจห้องซ้ายส่งเลือดที่ฟอกจากปอดแล้วไปเลี้ยงทั่วร่างกาย หัวใจห้องบนซ้าย หัวใจห้องบนขวา หัวใจห้องล่างซ้าย หัวใจห้องล่างขวา
หัวใจทำงานอย่างไร • หัวใจประกอบด้วยกล้ามเนื้อซึ่งมีหน้าที่สูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายโดยจะแบ่งเป็นห้องๆมีทั้งหมด4ห้อง อยู่ทางด้านขวา2ห้องด้านซ้าย2ห้องมีลิ้นหัวใจทั้งหมด 4ลิ้นลิ้นหัวใจจะทำหน้าที่ควบคุมให้เลือดไหลผ่านหัวใจไปข้างหน้าไม่ให้ไหลย้อนกลับมาทางเดิมเลือดจากหัวใจห้องขวาจะไหลเข้าไปในปอดเพื่อรับออกซิเจน หลังจากนั้นเลือดจะแดงขึ้นและกลับมาหัวใจทางด้านซ้าย เพื่อส่งไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย เมื่อร่างกายใช้ออกซิเจนไปแล้ว เลือดจะมีสีคล้ำขึ้น และไหลกลับมายังหัวใจห้องขวาเพื่อไปฟอกที่ปอดต่อไป
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดคืออะไร?โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดคืออะไร? • ความพิการของหัวใจที่เกิดขึ้นจะเป็นตั้งแต่ช่วงที่ตั้งครรภ์ซึ่งมีการสร้างส่วนต่างๆของร่างกาย
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดเป็นโรคเรื้อรังอุบัติการณ์ในประเทศไทย 7.4 คน/เด็กคลอดมีชีวิต 1000 คน ปี2543 เด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ร.พ ศรีนครินทร์ พบ 1426 คนซึ่งโรคนี้เป็นความผิดปกติทางโครงสร้างซึ่งจะส่งผลต่อระบบการไหลเวียน อาการจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค(ตำแหน่ง และพยาธิสภาพที่ผิดปกติของหัวใจ)ลักษณะของเด็ฏโรคหัวใจพิการมักเติบโตช้า นั่นคือ น้ำหนัก ส่วนสูงน้อยกว่าปกติ เด็กอายุ5.5-6.5 ปี มีน้ำหนักต่ำกวา เปอร์เซนไตล์ที่15 ร้อยละ69-72ตามลำดับ ซึ่งมาจากสาเหตุความผิดปกติของการสูบฉีดเลือดออกจากหัวใจ และส่งผลต่อความอยากอาหารลดลง ดังนั้นผู้ป่วยกลุ่มนี้มักเหนื่อยง่ายทำให้รับประทานอาหารได้น้อย ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจวาย การจำกัดเกลือทำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารจืด จึงรับประทานได้ไม่มาก การติดเชื้อในร่างกายบ่อยๆทำให้การดูดซึมลดลง การสะสมไขมันในร่างกายมีน้อย ทำให้เพิ่มการเผาผลาญ เพื่อให้อวัยวะสำคัญเช่น สมอง ทำงานได้
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดมีผลต่อ เด็กอย่างไร? • เด็กโรคหัวใจบางคนอาจไม่มีอาการเลยก็ได้ • จะทราบว่ามีโรคหัวใจต่อเมื่อแพทย์ตรวจพบ • เสียงหัวใจผิดปรกติที่เรียกว่า”เสียงฟู่ • บางคนมีโรคหัวใจที่ทำให้เกิดโรคหัวใจวาย • ซึ่งจะแสดงอาการคือมีอาการหอบเหนื่อย • เหนื่อยงาย หัวใจเต้นเร็ว น้ำหนักไม่ขึ้น • ตามเกณฑ์ บางคนมีโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด • ชนิดเขียวเด็กจะมีอาการปากเล็บเขียวคล้ำ • มีนิ้วปุ้มถ้ามีอาการเขียวอยู่นาน
อะไร?เป็นสาเหตุให้เกิดโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดอะไร?เป็นสาเหตุให้เกิดโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด • ในปัจจุบันเรายังไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริงของโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดอาจเป็นผลทางกรรมพันธ์หรือผลจากสภาวะแวดล้อม มีส่วนน้อยที่จะพอทราบสาเหตุ เช่นมารดาเป็นหัดเยอรมันในช่วงตั้งครรภ์มารดาที่ดื่มสุราหรือกินยาบางอย่างระหว่างตั้งครรภ์
เราจะป้องกันไม่ให้เกิดโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดได้อย่างไร?เราจะป้องกันไม่ให้เกิดโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดได้อย่างไร? • มารดาควรหลีกเลี่ยงยาบางชนิด การได้รับรังสีในมารดาสูงอายุมีโอกาสเกิดโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดได้บ่อยขึ้น จึงควรตรวจเช็คโครโมโซมของบุตรในครรภ์มารดาที่ยังไม่เคยเป็นหัดเยอรมันควรได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันก่อนการตั้งครรภ์ • อย่างน้อย2-3 เดือน
รูรั่วผนังกั้นหัวใจห้องล่าง:(ventricle septum defect :VSD) • รูรั่วผนังกั้นหัวใจห้องล่าง ทำให้เลือดแดงจากหัวใจห้องล่างซ้ายผ่านรูรั่วไปยังห้องล่างขวาและออกสู่หลอดเลือดแดงของปอดทำให้เลือดไปปอดมีปริมาณมากและเลือดเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้าย(ภายหลังจากการฟอกจากปอดแล้ว)และหัวใจห้องล่างซ้ายจะเพิ่มมากขึ้นด้วยซึ่งเป็นการรับภาระมากขึ้น(จากปริมาณเลือดที่เพิ่มขึ้น)จะทำให้เกิดภาวะหัวใจวายได้ การวินิจฉัย จากการตรวจหัวใจ ถ่ายภาพรังสีทรวงอกและหัวใจ คลื่นไฟฟ้าหัวใจและคลื่นเสียงสะท้อน ความถี่สูง ซึ่งสามารถบอกขนาดของรูรั่ง ตำแหน่ง ความดันในห้องหัวใจ
รูรั่วผนังกั้นหัวใจห้องบน(atrail septal defect : ASD) • พบบ่อยเป็นอันดับรองลงมาผลจากการที่มีรูรั่วผนังกั้นหัวใจห้องบนเนื่องจากความดันในหัวใจห้องบนค่อนข้างต่ำและความดันในหัวใจห้องขวาในเด็กเล็กค่อนข้างสูงทำให้ความแตกต่างของความดันในห้องหัวใจบนซีกซ้ายและขวามีไม่มากปริมาณเลือดที่จะไหลผ่านจากหัวใจห้องบนซ้ายผ่านรูรั่วไปห้องบนขวายังมีน้อย(แม้ว่ารูรั่วจะมีขนาดใหญ่)ต่อมาเมื่ออายุมากขึ้นเรื่อยๆความดันในหัวใจห้องขวาบนลดต่ำลงร่วมกับความต้านทานในหลอดเลือดแดงของปอดลดลง ปริมาณเลือดแดงไหลผ่านจากหัวใจห้องบนซ้ายไปด้านขวามากขึ้นเรื่อยๆทำให้สามารถตรวจพบเสียงฟู่หัวใจ และมีอาการ เหนื่อยง่าย หัวใจห้องขวาขยายใหญ่ เมื่ออายุมากขึ้น ส่วนใหญ่มักตรวจพบโดยบังเอิญ(มากกว่า3ปี)ส่วนอาการหัวใจวายหรือเหนื่อยง่ายเวลาออกกำลังกายมักพบในเด็กโตหรือผู้ใหญ่
Patent ductus arteriosus: PDA(การคงอยู่ของหลอดเลือดแดงเชื่อมระหว่างหลอดเลือดแดงใหญ่ทั้งสอง) • หลอดเลือดหัวใจเกินซึ่งในภาวะปกติเมื่อทารกอยู่ในครรภ์มมารดาหลอดเลือดนี้จะมีขนาดใหญ่เป็นทางลัดผ่านของเลือดจากหัวใจห้องขวาล่างไปยังหลอดเลือดแดงใหญ่ของร่างกายซึ่งไปเลี้ยงร่างกายส่วนล่างของลำตัวเมื่อทารกคลอดออกมาหลอดเลือดนี้จะหดตัวเล็กลงจนปิดไปภายใน10วันในรายที่มีความผิดปกติทำให้หลอดเลือดนี้ยังคงอยู่ เลือดแดงส่วนหนึ่งจากหลอดเลือดแดงใหญ่ของร่างกายจะไหลผ่านไปยังหลอดเลือดแดงของปอดปริมาณเลือดไปปอดเพิ่มขึ้นและไหลกลับเข้าสู่หัวใจห้องซ้ายเพิ่มขึ้นคล้ายรูรั่วผนังกั้นหัวใจห้องล่างควรทำผ่าตัดเมื่อเด็กอายุได้6 เดือน
Tetralogy of Falot ; อาการเจริญเติบโตช้าความรุนแรงขึ้นอยู่กับการตีบที่บริเวณลิ้นPulmonary • .ในตอนแรกพบเด็กเขียวเฉพาะตอนออกกำลัง หรือการดูดนม ร้องไห้เด็กเดินได้ชอบนั่งหยองๆทำให้เลือดไปปอดมากขึ้น การตรวจทางห้องปฏิบัติการ HCT Hb สูงกว่าปกติ(<65-70) • ภาวะแทรกซ้อน: สมองพิการ Cyantic spellsที่เป็นบ่อยๆนานๆ ฝีในสมองในเด็กที่มีอายุ>2ปี Infective pericarditis,Thrombotic pulmonary vascular disease ความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด • การรักษาให้อาหารที่ถูกต้อง, ให้ภูมิคุ้มกันครบ, รักษาสุขภาพปากฟัน,ให้ยาป้องกันInfective caritis หากต้องถอนฟัน,ป้องกันการเกิด Cerebrovascular accidents โดยไม่ปล่อยให้เด็กเกิดภาวะโลหิตจาง
Complete Transposition of the GreatVesselsพบบ่อยในทารกแรกเกิด เขียวแต่กำเนิด เหนื่อยง่ายหายใจแรง • เด็กน้ำหนักน้อย และเตี้ยเด็กเกิน 1ปี เขียวเนื่องจากการผสมของเลือดที่ระดับ atrium ไม่เพียงพอ นิ้วปุ้ม เด็กจะได้รับการผ่าตัดแบบประทังชีวิต • การผ่าตัดแบบแก้ไขทั้งหมดตอนอายุ 3-9 เดือน • (ถ้าไม่ได้รับการรักษาเด็กจะเสียชีวิตจากการขาดออกซิเจน นอกจากนี้ การติดเชื้อ การผ่าตัด หรือโรคแทรกซ้อนเป็นสาเหตุการตายอย่างหนึ่งด้วย)
โรคหัวใจพิการชนิดตัวไม่เขียวแบ่งเป็น2ชนิดคือโรคหัวใจพิการชนิดตัวไม่เขียวแบ่งเป็น2ชนิดคือ • เลือดไปปอดมากเช่นaterial septal defect, ventricle septal defect,patent ductus arteriosus , aterioventricle canal defect ชนิดอุดตันของหลอดเลือดจากหัวใจห้องล่าง coarctation of aorta,aortic stenoosis , pulmonary stenosis โรคหัวใจพิการชนิดเขียว**เลือดไปปอดน้อยTetralogy of fallot, Tricuspidatresia***ชนิดเลือดไปปอดมาก เช่น Transposition of great artery, total anomalous pulmonary venous return
การผ่าตัดโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดแบ่งออกเป็น 2ชนิดใหญ่ๆ คือ รักษาชั่วคราวยังไม่ได้แก้ไขทั้งหมด มี 3ชนิดคือ เพิ่มเลือดไปสู่ปอด ลดจำนวนเลือดไปปอด เพิ่มจำนวนเลือดที่ร่วมกับเม็ดเลือดแดงใน Atrium เช่นBlalock-Hanlon atrium • การแก้ไขให้เป็นปกติทั้งหมดชนิดSimple เช่น PDA หรือ ASDเช่น การผ่าตัด division of PDA Closured of ASD VSD Total Correction of Tetralogy of Fallot ที่พบบ่อยคือ Blalock-taussig”s shunt เป็นการสร้างทางติดต่อโดยใส่เส้นเลือดเทียม ทำให้ออกซิเจนไปสู่ปอดเพิ่มขึ้นผู้ป่วยเหนื่อยและเขียวน้อยลง, Glenn shuntทำให้เพิ่มออกซิเจนในผู้ป่วยที่มีเลือดไปปอดน้อยเนื่องจาก Low pressure shunt ซึ่งไม่ทำให้ความดันในปอดสูงเกินไป
ปัญหาแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคหัวใจพิการปัญหาแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคหัวใจพิการ • ภาวะหัวใจวาย ภาวะขาดออกซิเจนเฉียบพลัน การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ การติดเชื้อที่เยื่อหุ้มหัวใจ ความดันในปอดสูง ฝีในสมอง เด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดถ้ามีอาการของโรคมากจะน้ำหนักน้อย และเติบโตช้าอาการเขียวที่มีออกซิเจนในเลือดต่ำนำไปสู่ภาวะหัวใจวายปอดบวมน้ำ เลือดข้น และการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน ความดันในปอดสูงและการอุดตันของเลือดไปปอด,ความผิดปกติของปอดการอุดตันของท่อทางเดินหายใจทั้งขนาดใหญ่และเล็ก
เราจะรักษาโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดอย่างไร?เราจะรักษาโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดอย่างไร? • ในช่วง25-30ปีที่ผ่านมา • มีการพัฒนาเทคนิคในการผ่าตัดแก้ไขโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดกันอย่างกว้างขวางทำให้ปัจจุบันนี้ เราสามารถโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดได้แทบทุกชนิด ทั้งจากการผ่าตัดและรักษาด้วยยา หรือรักษาโดยวิธีการสวนหัวใจการควบคุมอาหารจืดการออกกำลังกายการดูแลช่องปากและฟัน การนัดตรวจเป็นระยะๆ
การพิจารณาในการผ่าตัดการพิจารณาในการผ่าตัด • ผู้ป่วย VSD ขนาดเล็กไม่มีอาการผิดปกติเฝ้าติดตามอาการติดเชื้อ ส่วน VSD ขนาดใหญ่และมีภาวะหัวใจล้มเหลว จะได้รับยาDigitalis และยาขับปัสสาวะ ยาขยายหลอดเลือดแต่ผู้ป่วย • ASDถ้าปล่อยไว้จะทำให้เกิดความดันในปอดสูง หรือทำให้เกิดหัวใจวายได้ต้องพิจารณาทำการผ่าตัด
การตรวจร่างกายผู้ป่วยเด็กการตรวจร่างกายผู้ป่วยเด็ก • ดูน้ำหนักส่วนสูง โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียวเจริญเติบโตช้า เด็กโรคลิ้นหัวใจAortic pulmonary ตีบเจริญเติบโตปกติ • ลักษณะทั่วไป เด็ก Down syndrome มีโอกาสเป็นโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ร้อยละ 40-50 • .ผิวหนัง ซีด หรือไม่ซีดอาจทำให้เกิดภาวะหัวใจวายได้ • ศรีษะมักดูค่อนข้างโตเมื่อเทียบกับลำตัว • หน้า บวม พบได้จากโรคลิ้น tricuspid • ,constrictive pericarditisและการอุดตันของ • Superior vena cava • ตา เด็กที่มีโรคความดันโลหิตสูง • อาจพบความผิดปกติที่Retina
.หูเด็กหัวใจพิการแล้วมีหูหนวกร่วมด้วยให้นึกถึงRubella Syndrome • ปากริมฝีปากบอกความซีดได้ดีที่สุด นอกจากนี้เด็กโรคหัวใจที่ฟันผุมากให้นึกถึงต้นเหตุของ Infective endocarditis • คอ คลำดูว่าต่อมธัยรอยด์โตกว่าปกติหรือไม่ • ทรวงอกเหมือนโล่พบได้ใน Turner”s Syndromeเด็กที่เป็นPectus excavatum มีโอกาสเป็นโรค Mitral prolapse มากกว่าเด็กปกติ • ปอด มีความผิดปกติของการหายใจ, crepitation หรือ Whezzing ? • ท้อง ตับ คลำได้บริเวณลิ้นปี่สามารถบอกภาวะหัวใจวายได้ดี(เล็กลง)ม้ามจะโตในเด็กที่มีภาวะหัวใจวายมานาน
แขนขา ดูว่า ปวด บวม แดง อน เด็กที่มีนิ้วเกินมักพบในMarfan Syndrome,พบนิ้วยาวมากกว่าปกติในJaneway Lesion ฝ่ามือที่ปลายนิ้ว มีเลือดออกใต้เล์บคล้ายเสี้ยนตำพบได้ใน Infective endocarditis • ระบบประสาทเด็กปัญญาอ่อนอาจพบร่วมกับกลุ่มโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดร่วมด้วยเช่น การเคลื่อนไหวของแขนขาโดยไม่ตั้งใจเด็กที่เป็น Beri-Beri จะพบ Deep tendon reflexลดลงนอกจากนี้ยังสามารถบอกตำแหน่งของฝีในสมองได้ • การตรวจระบบไหลเวียนเลือดVital signs • ดู อัตราการเต้นของหัวใจเด็กอายุ 6ปี=100/min,เด็กโต=70-80/minอัตราการหายใจเด็กโตการหายใจลดลงเป็น 18 /min(เด็กเกิดใหม่= 40/min) • ความดันเด็ก>2ปี ถึงเด็กโต=100-130/60-80 มมปรอท
Pulse pressure แคบกว่าปกติในCadiac tamponade และกว้างกว่าปกติในAortic ที่รั่วมาก • ความดันที่แขน ขา ถ้าความดันที่ขาน้อยกว่าแขนนึกถึงCoarctation ของ Aortaแต่ถ้าความดันของแขนน้อยกว่าขาให้นึกถึง Takayasu”s Diseaseลักษณะทั่วๆไปที่พบบ่อย Dyspnea, Orthopnea พบในหัวใจวาย • Cyanosis จะเห็นได้ถ้าความอิ่มตัวของออกซิเจนลดลงเหลือ 75-58%(ดูจากริมฝีปากชัดเจน) • มือเขียวแต่ท้าไม่เขียวClubbing เกิดได้เร็วใน Infctive carditis
การเตรียมตัวก่อนรับการผ่าตัดการเตรียมตัวก่อนรับการผ่าตัด • เตรียมด้านร่างกาย: ตรวจเลือด ขอเลือดเพื่อใช้ในการผ่าตัด ถ่ายภาพรังสีทรวงอก คลื่นหัวใจ พบทันตแพทย์เพื่อดูแลช่องปากและฟันป้องกันการติดเชื้อร่างกาย พบนักกายภาพบำบัดเพื่อฝึกหายใจอย่างถูกต้องป้องกับการติดเชื้อที่ปอดหลังผ่าตัดจากการไม่กล้าไอ และการออกกกำลังข้อต่อหัวไหล่ป้องกันไหล่ติด • เตรียมด้านจิตใจ: ท่านควรศึกษาข้อมูลโดยการสอบถามแพทย์พยาบาลเมื่อท่านมีข้อซักถามกรุณาอย่าเก็บไว้ แพทย์ของท่านและ เจ้าหน้าที่ หอผู้ป่วย 3ข.ทุกคนมีความเต็มใจเป็นอย่างยิ่งที่จะดูแลท่านและครอบครัวโปรดให้ความไว้วางใจ
ต้อง X-ray ตรวจคลื่นหัวใจ พบหมอฟัน(ทันตแพทย์) ขอเลือด ตรวจดูความเข้มข้นของเลือด เกลือแร่ในร่างกาย พบนักกายภาพบำบัดเพื่อฝึกหายใจอย่างถูกต้อง ก่อนผ่าตัดผู้ป่วยต้องได้รับการเตรียมความพร้อม
การดูแลรักษาสุขภาพฟันในผู้ป่วยโรคหัวใจถ้าฟันผุจะเกิดอะไรขึ้น?การดูแลรักษาสุขภาพฟันในผู้ป่วยโรคหัวใจถ้าฟันผุจะเกิดอะไรขึ้น? . แบคทีเรียจะหลุดเข้าไปในกระแสเลือดซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดเยื่อบุหัวใจอักเสบในผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจ หรือเกิดฝีในสมองในผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจพิการแกำเนิดชนิดเขียวท่านควรดูแลบุตรหลานโดย 1.ดีที่สุด คือไม่ให้มีฟันผุ 2.เมื่อไปพบทันตแพทย์ท่านต้องบอกด้วยว่าบุตรหลาน ของท่านเป็นโรคหัวใจอยู่ด้วย 3.ถ้าแพทย์และทันตแพทย์สั่งให้รับประทานยาก่อน และหลังทำฟัน ท่านต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด. 4แปรงฟันหลังรับประทานอาหาร/เช้า-ก่อนนอน
การดูแลของบุคคลในครอบครัวการดูแลของบุคคลในครอบครัว • เนื่องจากเด็กแรกเกิด-6 ปีดูแลตนเองได้น้อยและเป็นระยะเริ่มต้นของพัฒนาการทั้งร่างกาย และสังคม และส่วนหนึ่งมาจากความเจ็บป่วยของเด็กเองซึ่งการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจบ่อยๆและต้องเข้ารับการรักษา ส่งผลให้การเจริญเติบโตช้า • มารดาไม่ได้เสริมคุณค่าและปริมาณอาหารให้เหมาะสมกับวัย**ด้านพัฒนาการไม่ได้รับการกระตุ้นเพราะกลัวว่าเด็กจะเหนื่อยเกินไป
การป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากเด็กกลุ่มนี้ติดเชื้อได้ง่ายจากการที่มีน้ำในปอดทำให้ประสิทธิภาพการทำงานของปอดลดลงการป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากเด็กกลุ่มนี้ติดเชื้อได้ง่ายจากการที่มีน้ำในปอดทำให้ประสิทธิภาพการทำงานของปอดลดลง • หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้คนที่เป็นหวัด ไข้ ไอ หรือ หลีกเลี่ยงการพาเด็กไปที่แออัดการถ่ายเทอากาศที่ไม่ดี เช่นโรงหนัง ห้างสรรพสินค้า ความสะอาดของผิวหนังเพราะเด็กกลุ่มนี้มีเหงื่ออกมากกว่าปกติ ควรอาบน้ำอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง และควรดูแลของใช้ เสื้อผ้าให้สะอาด ช่องปาก ฟัน ฟันผุจะทำให้แบคทีเรียในกระแสเลือดส่งผลให้เกิดการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจได้ เด็กควรได้วัคซีนครบ
เด็กที่มีฟันแล้วไม่ได้รับการดูแลและรักษาสุขภาพฟันทำให้เกิดปัญหาฟันผุเด็กที่มีฟันแล้วไม่ได้รับการดูแลและรักษาสุขภาพฟันทำให้เกิดปัญหาฟันผุ • การดูแลที่จำเป็นBasic need • อาหารเด็กอายุ0-6ปีควรได้พลังงาน 1200-1550 แคลอรี, ข้าวแป้ง 2-3ถ้วย, โปรตีน(เนื้อสัตว์ ถั่ว)3-4ช้อนโต๊ะไข่วันละ 1 ฟอง • นมหรือผลิตภัณฑ์จากนม วันละ 2แก้ว, ผักใบเขียววันละ 4-8 ช้อนโต๊ะ, ผลไม้เช่นกล้วย ส้ม มะละกอ ส้ม ทุกวัน น้ำมันพืช 1-2ช้อนโต๊ะ จากอาหารทอด หรือ ผัด • ป้องกันภาวะซีดจาการเพิ่มธาตุเหล็กในอาหารพวก ไข่แดง เลือดหมู เลือดไก่ • เด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดมีสุขภาพดี ไม่จำกัดน้ำ ควรได้รับน้ำวันละ5-6 แก้ว แต่รายที่มีอาการบวม/ หัวใจวายรุนแรง จำกัดน้ำ 70 ซีซี/วัน
การดูแลเรื่องการขับถ่าย ควรฝึกให้เด็กขับถ่ายเป็นเวลาเป็นประจำ อย่าให้ท้องผูกเพราะการเบ่งถ่ายทำให้เด็กเหนื่อยง่าย โดยเฉพาะเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียว อาจทำให้ขาดออกซิเจนเฉียบพลันได้ • อาหารเพิ่มเส้นใยต่างๆและเครื่องดื่มเช่นน้ำส้มน้ำ มะขาม น้ำลูกพรุนจะช่วยให้ระบาย และผู้ดูแลควรสังเกตว่าเด็กถ่ายปัสสาวะน้อยลงและมีอาการบวมร่วมด้วยเพื่อประเมินภาวะหัวใจวาย น้ำส้ม
การพักผ่อนและการออกกำลังกายอย่างเหมาะสมการพักผ่อนและการออกกำลังกายอย่างเหมาะสม • การนอนหลับ การผ่อนคลาย ความตึงเครียด เช่น ดู ทีวี ซีดี ร้องเพลง การพักผ่อน ทำให้อวัยวะต่างๆของร่างกายทำงานน้อยลง ซึ่งจะช่วยลดการใช้ออกซิเจนของร่างกาย ควรนอน 10-12ชั่วโมงในเวลากลางคืน 1-2 ชั่วโมงในเวลากลางวัน • การออกกำลังกายควรเป็นไปตามปกติยกเว้นการแข่งขันเช่นการวิ่งไล่ จับ การปีนป่าย กระโดดโลดเต้น ถ้าเหนื่อยควรหยุดเล่นทันทีเพราะอาจเกิดอันตรายต่อเด็กได้
การส่งเสริมต่อพัฒนาการ โรคหัวใจพิการไม่มีผลต่อสติปัญญาของเด็ก(โดยที่ไม่มีความผิดปกติอย่างอื่นร่วมด้วย) • ผู้ดูแลควรส่งเสริมด้านต่างๆดังนี้ • การเรียนรู้รับประทานอาหารเอง ควบคุมการขับถ่าย การนอนหลับ การทรงตัว การเดิน วิ่ง ปีนป่าย มีความชำนาญการใช้มือ เช่นการติดกระดุม • ด้านสังคม รู้จักกฎระเบียบ ครอบครัวรู้จักแยกแยะเมื่อผิดหวัง หรือ รอคอย • เรียนรู้อันตราย เช่นที่สูง ไฟ คนแปลกหน้า • สื่อสารกับคนอื่นได้เรียนรู้ที่จะสร้างสัมพันธ์กับบิดา มารดา
พัฒนาการด้านร่างกาย ควรปล่อยให้เด็กเล่นในที่กว้าง ร่มรื่น ปลอดภัย ระวังอุบัติเหตุ กระตุ้นให้กำลังใจ เปิดโอกาสให้เด็กได้ทำกิจกรรมอ่างอิสระควรแนะนำอยู่ห่างๆ • ด้านภาษาควรเปิดโอกาสให้เด็กได้พูด ชวนเด็กพูดคุย เล่านิทานอ่านหนังสือ ด้านอารมณ์เด็กที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวพบในเด็ก 3 ขวบขึ้นไป เมื่อเด็กแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ไม่ควรสนใจมากนัก ยกเว้น จะก่อให้เดอันตรายเช่นการทำลายข้าวของ ทำร้ายตนเอง เด็กโรคนี้มีความเครียดจากการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลบ่อยๆ บิดามารดา ควรปลอบโยนให้กำลังใจสนับสนุนให้เด็กทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน พี่ และส่งเสริมให้เด็กปรับตัว ต่อการอยู่ร่วมในสังคม
ผู้ดูแลควรสังเกตอะไรบ้างเพื่อช่วยลดความรุนแรงของความเจ็บป่วยผู้ดูแลควรสังเกตอะไรบ้างเพื่อช่วยลดความรุนแรงของความเจ็บป่วย • สังเกตการหายใจ สีผิว เล็บ ไข้ ไอ จาม เจ็บคอ นอนราบได้ หายใจเร็วหายใจลำบากซึ่งเป็นอาการหนึ่งของหัวใจวาย ควรให้นอนหัวสูงไม่วางแขนไว้ที่หน้ท้องเพราะจะทำให้หายใจลำบากและควรรีบส่งโรงพยาบาล • เด็กเขียวเพิ่มขึ้นจากการขาดออก:ซิเจนเฉียบพลัน หายใจเร็วลึก ร้องไห้งอแง ผู้ดูแลควรให้เด็กนอนเข่าชิดอก ปลอบให้หยุดร้อง เมื่อเด็กไม่สบายควรไปพบเเพทย์ทุกครั้ง (เหงื่อออกมาก ไม่ยอมรับประทานอาหาร)
ควรให้ร่างกายอบอุ่นอยู่เสมอป้องกันการเกิดภาวะตัวเย็นซึ่งจะเกิดการใช้ออกซิเจนมากขึ้นสูญเสียพลังงานมากขึ้นผู้ป่วยที่เขียวมากหรือตัวเย็นจะทนต่อภาวะตัวเย็นไม่ได้และเกิดภาวะอุณหภูมิในร่างงงกายต่ำจนเกิดอันตรายต่อร่างกายได้ควรให้ร่างกายอบอุ่นอยู่เสมอป้องกันการเกิดภาวะตัวเย็นซึ่งจะเกิดการใช้ออกซิเจนมากขึ้นสูญเสียพลังงานมากขึ้นผู้ป่วยที่เขียวมากหรือตัวเย็นจะทนต่อภาวะตัวเย็นไม่ได้และเกิดภาวะอุณหภูมิในร่างงงกายต่ำจนเกิดอันตรายต่อร่างกายได้ • การเจริญเติบโตช้า มาจากสาเหตุ • รับประทานอาหาร น้อย ตับโต มีน้ำในช่องท้อง กระเพาะอาหารถูกเบียดรับประทานได้น้อยลงการบวมของเยื่อบุทางเดินอหารร่วมกกับการขาดพลังงาน • เกิดจากการรักษาเช่นจากยาบางชนิดเช่น Digitalisทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน(ถ้าใช้ขนาดสูง)ยาขับปัสสาวะทำให้ร่างกายสูญเสียแร่ธาตุ • การย่อยและการดูดซึมซึ่งเกิดจากน้ำย่อยจากตับอ่อนต่ำ ความเข้มข้นของน้ำดีในลำไส้ต่ำความดันในหลอดน้ำเหลืองสูงจากภาวะหัวใจวาย
การนำการ์ตูนมาใช้โดยนำแนวคิดของ Kinder 1959นักจิตวิทยาการศึกษา: การ์ตูนสามารถสื่อความหมายได้มากกว่าคำพูดยาวๆได้หลายคำอีกทั้งดึงดูดความสนใจจูงใจ • การ์ตูนเหมาะกับเด็กทุกวัยทุกวิชาซึ่งสื่อการสอนในปัจจุบันได้นำการ์ตูนมาเป็นสื่อและมีผู้ศึกษาไว้มากมายเช่นกาญจนา ศิริวงศ์ 2539 ศึกษาการบำบัดด้วยหนังสือต่อความวิตกกังวลจากกกการแยกจากผู้เลี้ยงดูของเด็กป่วยก่อนวัยเรียน การให้ข้อมูลเด็กควรเลือกให้เหมาะกับวัย พัฒนาการทางสติปัญญาซึ่งจาการสำรวจของกระทรวงศึกษาธิการ 2539 พบว่า เด็กวัยก่อนเรียน ชอบดูการ์ตูน ร้อยละ96.48 เเละเด็กวัยเรียน ชอบอ่าหนังสือการ์ตูน ร้อยละ95.48
การเตรียมรับผู้ป่วยจาก หอผู้ป่วยหนักCCU/ SICU Infusion pump (กรณีให้ยา) และเด็กเล็กที่ต้องควบคุมปริมาตร IVF ตะแกรงใส่ขวด ICD (Drainage )ปกติICD จะมี 2สาย ได้แก่ pericadial drain =ขวา , mediastinal Drain = ซ้าย ควรดูแลให้เป็นระบบปิดเสมอวางสายไม่ให้หักพับ Milking สายก่อนการ Reccord ทุกครั้ง น้ำปัสสาวะ= 20 ซีซี/ชั่วโมง Urine sp.gr.=1.015-1.030 IVF เปลี่ยนเป็น 5%D/5 500 ml โดยใช้ Set micridrip เพื่อควบคุมปริมาณ IVF และจำกัดเกลือ ยาAntibiotic มักให้ 48 ชั่วโมงยาแก้ปวด Moให้ ทุก2-4ชั่วโมง
หลังผ่าตัดควรดูแลบุตรหลานของท่านหรือตัวท่านเองอย่างไร?หลังผ่าตัดควรดูแลบุตรหลานของท่านหรือตัวท่านเองอย่างไร? ฝึกหายใจ หรือเป่ากระดาษ หรือใบพัด(ของเล่นเด็กโดยให้เด็กหายใจเข้าก่อนแล้วกลั้นไว้แล้วเป่าแรงๆ 1 ครั้ง หรือ จะร้องเพลง หมั่นพลิกตะแคงตัว ลุกนั่ง ลงเดินออกกำลังกาย หลังผ่าตัด ดมออกซิเจน 2-3 วันหรือเมื่อผู้ป่วยต้องการ
9.ออกกำลังหัวไหล่โดยการแกว่งแขนหรือยกมือ9.ออกกำลังหัวไหล่โดยการแกว่งแขนหรือยกมือ ขึ้น-ลงทุกวัน (ทำทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง) การใช้ผ้ายืดผยุงทรวงอกร่วม กับการให้ยาแก้ปวดช่วยบรรเทาอาการปวดได้ (โปร่งนภา อัครชิโนรศ2543) . คุณพ่อคุณแม่ไม่ควรวิตกกังวลมากเกินไป แต่เพิ่มความสังเกตลูกเมื่อพบสิ่ง ผิดปรกติควรปรึกษาแพทย์ ควรมีวินัยในการรักษาและให้ความร่วมมือ กับทีมการรักษาพยาบาลเพื่อ ผลประโยชน์ของท่านและบุตรหลาน
.การออกกำลังกายตามความเหมาะสม 3. การสังเกตอาการข้างเคียง เช่นการไอมีเสมหะเป็นฟอง นอนราบไม่ได้ เหนื่อยง่ายและมากขึ้น บวม ปัสสาวะออกน้อย มีไข้ฯลฯ .ผู้ป่วยเด็กควรฝึกให้บุตรหลานรับประทานผัก ผลไม้แทนขนมหวานหรือขนมสำเร็จรูปต่างๆ เพื่อป้องกันการได้รับเกลือจากสารปรุงรสในอาหารสำเร็จรูป คำถามให้เด็กรับประทานน้ำอัดลมได้ไหม ให้เด็กรับประทานขนมกรอบๆได้มากน้อยแค่ไหน
ตัวอย่างอาหารที่ควรรับประทานและต้องงดและอาหารจำกัดเกลือตัวอย่างอาหารที่ควรรับประทานและต้องงดและอาหารจำกัดเกลือ จำกัดเกลือในอาหารหรืออาหารสำเร็จรูป
.ควรตรวจฟันทุก 6 เดือน จำกัดเกลือในอาหาร หรืออาหารสำเร็จรูป(แต่ลูกชอบขนมกรอบๆล่ะคะ?)
ควรคุมกำเนิด อย่างน้อย 1 ปี และต้องปรึกษาแพทย์ของท่านถ้าต้องการมีบุตร
.***ควรติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่องและสอบถามกับแพทย์เมื่อท่านเกิดความสงสัยเพื่อท่านจะเกิดความเข้าใจในการรักษาอย่างถูกต้อง.***ควรติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่องและสอบถามกับแพทย์เมื่อท่านเกิดความสงสัยเพื่อท่านจะเกิดความเข้าใจในการรักษาอย่างถูกต้อง ** ต้องมาตรวจตามนัด / . ต้องปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์และพยาบาลอย่างเคร่งครัด เช่นการไอขับเสมหะ **รับประทานยาที่แพทย์สั่ง ให้(ไม่ควรซื้อยากินเอง)
จำกัดน้ำ 1200 ซีซี / วัน เช้า6.00-14.00= 500 บ่าย 14.00-22.00= 400 ดึก22.00-6.00ช 300;ซีซี จำกัดน้ำดื่ม ควรงดน้ำอัดลมเพราะ จะทำให้ท้องอืดและได้สารความ หวานมากเกินไป น้ำดื่ม / วัน แผลตัดไหมที่รูท่อระบายเท่านั้นแผลแห้งดีสามารถอาบน้ำได้ น้ำผสมนม
.ถ่ายอุจจาระทุกวันอย่าให้ท้องผูก เพราะการเบ่งถ่ายอุจจาระอาจทำให้ให้โรคหัวใจชนิดรุนแรงกำเริบได้ สิ่งที่เราและท่านคาดหวังให้เป็นคือทุกคนมีหัวใจแข็งแรง สุขภาพดี
เด็กๆหลังผ่าตัดแล้วสบายดีเปิดแผลได้เด็กๆหลังผ่าตัดแล้วสบายดีเปิดแผลได้ แผลแห้งดี
คำถามฝาก 1.ลูกดิฉันถ้าเลื่อนผ่าตัดออกไปนานๆแล้วหัวใจไม่วาย หรือคะ? ทำไมคุณหมอไม่รีบผ่าให้ล่ะคะ? 2. ทำไมผ่าใหม่ๆต้องให้ลูกรีบขยับตัวคะ? 3.เบื่อทำไมคุณหมอ เดี๋ยวเลื่อนๆ คนเฝ้าแย่เลย 4.ทำไมต้องให้บริจาคเลือดด้วยคะ?โรงพยาบาลน่า จะมีเลือดไว้เรียบร้อยนะคะ 5โรงพยาบาลจัดอาหารให้ได้สิแต่อยู่บ้านต้องซื้อกินค่ะ 6.ทำไมคณหมอไม่บอกให้ทำฟันเรียบร้อยก่อนมา เสียเวลารอทำฟันอีก 7.หมอมาไหมคะ ไม่เคยเห็นหมอเลยเห็นแต่นักเรียน 8ทำไมเดี๋ยวให้กิน เดี๋ยวให้งด 9ถ้าที่นี่ไม่มีคิวไปผ่าที่อื่นได้ไหมแล้วกลับมานอนที่นี่
ทำไมหมอพูดแต่ภาษาอังกฤษทำไมหมอพูดแต่ภาษาอังกฤษ • ทำไมไม่บอกว่าผลที่ตรวจต่างๆไปเป็นอย่างไร • คุณหมอพูดไม่เคลียรื • ทำไมหมอไม่อยู่ให้ถามเลยไปเร็วๆ ไม่เข้ามาหเลย • ให้นอนนานแล้วอยู่กับเด็กเจี้ยวจ้าวนอนไม่ค่อยหลับ