1 / 16

รายงานการระบาดศัตรูพืช สำคัญ

รายงานการระบาดศัตรูพืช สำคัญ. เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง. หนอนหัวดำมะพร้าว. เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล. แมลงดำหนามมะพร้าว. ส่วนบริหารศัตรูพืช สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร. ลักษณะรายงาน.

michel
Download Presentation

รายงานการระบาดศัตรูพืช สำคัญ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายงานการระบาดศัตรูพืชรายงานการระบาดศัตรูพืช สำคัญ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง หนอนหัวดำมะพร้าว เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล แมลงดำหนามมะพร้าว ส่วนบริหารศัตรูพืช สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร

  2. ลักษณะรายงาน • เป็นรายงานการระบาดเฉพาะกิจของ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง เพลี้ยกระโดด สีน้ำตาล หนอนหัวดำมะพร้าว และแมลงดำหนามมะพร้าว • ต้องรายงานทุกสัปดาห์ ก่อนเวลา 12.30 น. ของวันพุธ • การหยุดรายงานโดยที่ยังมีพื้นที่ระบาดในสัปดาห์ก่อน จะถือว่าขาดส่งรายงานระบบจะนำข้อมูลของสัปดาห์ก่อนหน้ามาใส่แทนโดยปริยาย โดยจะถูกบันทึกว่าเป็น record ที่ขาดส่งรายงาน และจังหวัด/อำเภอ ต้องรับผิดชอบต่อข้อมูลที่ระบบนำมาใส่แทนนั้นด้วยเช่นกัน • ข้อมูลการระบาด และการขาดส่งรายงาน จะถูกประมวลผล และนำเสนอต่อ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรทุกสัปดาห์ และจะถูกเก็บในฐานข้อมูลโดยปริยาย

  3. ขั้นตอนและวิธีรายงาน • ตำบลดำเนินการตรวจสอบและประเมินพื้นที่ระบาดโดยวิธี RRA แล้วแจ้งอำเภอ • อำเภอ บันทึกข้อมูลของทุกตำบลเข้าระบบในคราวเดียวกัน ระหว่างวันจันทร์ จนถึงก่อน 12.30 น.ของวันพุธ • จังหวัด ตรวจสอบความถูกต้อง / แก้ไข / ทวงถาม ข้อมูลของอำเภอ และสามารถบันทึกข้อมูลแทนอำเภอได้ ระหว่างวันจันทร์จนถึงก่อน 12.30 น.ของวันพุธ เช่นเดียวกัน ดังนั้นหากมีการแก้ไขเพิ่มเติม ให้บันทึกข้อมูลให้ทันก่อนเวลา 12.30 น. ของวันพุธ • หลัง 12.30 น. ของวันพุธ ระบบจะปิด ไม่ให้มีการบันทึกแก้ไขใดๆ ได้อีก และจะเปิดรับข้อมูลของสัปดาห์ใหม่ ในวันจันทร์ถัดไป • หากไม่มีพื้นที่ระบาด ให้บันทึกเป็น 0 (เลขศูนย์) ทั้งพื้นที่และจำนวนเกษตรกร ห้ามเว้นว่าง เพราะระบบจะนำข้อมูลของสัปดาห์ก่อนหน้ามาใส่แทนโดยปริยาย และจะถูกบันทึกว่าเป็น record ที่ขาดส่งรายงาน • ระบบไม่เปิดให้มีบันทึกแก้ไขข้อมูลสัปดาห์ที่ผ่านมาได้ จึงขอให้จังหวัดตรวจสอบข้อมูลอย่างละเอียดถี่ถ้วน ให้ทันเวลาก่อน 12.30 น. ของวันพุธ เพราะหลังจากนี้ระบบจะปิดรับข้อมูล

  4. http://forecast.doae.go.th/pia/home ใส่ User name และ password คลิก Login

  5. อ่านและทำความเข้าใจ

  6. เลือกพืชที่ต้องการรายงานเลือกพืชที่ต้องการรายงาน

  7. แถบเมนู ชื่อหน่วยงานบันทึกข้อมูล เมนูออกจากระบบ ชื่อแบบรายงาน ช่วงเวลารายงาน ตัวรายงาน แถบบันทึก/ยกเลิก ข้อมูล

  8. แบบรายงานการระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังแบบรายงานการระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง บันทึกการระบาดของศัตรูพืช ลงในแบบรายงาน พบเพลี้ยแป้งสีชมพูร้อยละ......... คิดเทียบกับพื้นที่ระบาดทั้งหมด ระบุสาเหตุที่ทำให้พื้นที่ การระบาดเพิ่มขึ้น/ลดลง คลิกบันทึก

  9. แบบรายงานการระบาดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลแบบรายงานการระบาดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล บันทึกการระบาดของศัตรูพืช ลงในแบบรายงาน บันทึกวัยของ BPH ที่พบ และโรคข้าวที่พบ ระบุสาเหตุที่ทำให้พื้นที่ การระบาดเพิ่มขึ้น/ลดลง คลิกบันทึก

  10. แบบรายงานการระบาดหนอนหัวดำมะพร้าวแบบรายงานการระบาดหนอนหัวดำมะพร้าว บันทึกการระบาดของศัตรูพืช ลงในแบบรายงาน พื้นที่เฝ้าระวัง คือ พื้นที่ที่ควบคุม โดยวิธีตัดทางใบแล้ว ระบุพื้นที่และจำนวนเกษตรกรที่ ซ้อนทับกับพื้นที่การระบาด ของแมลงดำหนาม ระบุสาเหตุที่ทำให้พื้นที่ การระบาดเพิ่มขึ้น/ลดลง คลิกบันทึก

  11. แบบรายงานการระบาดแมลงดำหนามมะพร้าวแบบรายงานการระบาดแมลงดำหนามมะพร้าว บันทึกการระบาดของศัตรูพืช ลงในแบบรายงาน ระบุพื้นที่และจำนวนเกษตรกรที่ ซ้อนทับกับพื้นที่การระบาด ของหนอนหัวดำ ระบุสาเหตุที่ทำให้พื้นที่ การระบาดเพิ่มขึ้น/ลดลง คลิกบันทึก

  12. ในพื้นที่ที่มีการระบาดของหนอนหัวดำมะพร้าว และ แมลงดำหนามมะพร้าว เมื่อบันทึกรายงานการระบาดแล้วให้ดำเนินการบันทึกข้อมูลการให้ความช่วยเหลือ เลือกชนิดของศัตรูมะพร้าว

  13. แบบรายงานการให้ความช่วยเหลือแบบรายงานการให้ความช่วยเหลือ รายงานได้เมื่อบันทึกพื้นที่ระบาด เรียบร้อยแล้ว บันทึกข้อมูลการให้ความช่วยเหลือ ลงในแบบรายงาน ระบุแหล่งให้การสนับสนุน คลิกบันทึก

  14. การพิมพ์แบบรายงาน

  15. การประมวลผลข้อมูล

  16. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม • จังหวัดและอำเภอควรซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการรายงานให้ตรงกัน • จังหวัดสามารถเห็นข้อมูลได้ถึงระดับตำบล และสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้เอง หากตรวจสอบแล้วพบว่าข้อมูลผิดพลาด • จังหวัดควรตรวจสอบข้อมูลและแก้ไขให้เรียบร้อยก่อน 12.30 น. ของวันพุธ • อย่าลืม จังหวัดและอำเภอต้องรับผิดชอบข้อมูลร่วมกัน

More Related