1 / 30

การนำเสนอตารางและกราฟในบทความวิจัย และข้อวิจารณ์บทความวารสารจากผู้ทรงคุณวุฒิ

รศ.ดร.มนต์ชัย ดวงจินดา บรรณาธิการวารสารแก่นเกษตร. การนำเสนอตารางและกราฟในบทความวิจัย และข้อวิจารณ์บทความวารสารจากผู้ทรงคุณวุฒิ. ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการนำเสนอกราฟ. Overload information :: กราฟช่วยแสดงให้เห็นประเด็นสำคัญ ไม่ใช่เพื่อแสดงข้อมูลดิบหรืออธิบายผลซับซ้อน

micah
Download Presentation

การนำเสนอตารางและกราฟในบทความวิจัย และข้อวิจารณ์บทความวารสารจากผู้ทรงคุณวุฒิ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รศ.ดร.มนต์ชัย ดวงจินดาบรรณาธิการวารสารแก่นเกษตร การนำเสนอตารางและกราฟในบทความวิจัยและข้อวิจารณ์บทความวารสารจากผู้ทรงคุณวุฒิ

  2. ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการนำเสนอกราฟข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการนำเสนอกราฟ • Overload information :: กราฟช่วยแสดงให้เห็นประเด็นสำคัญ ไม่ใช่เพื่อแสดงข้อมูลดิบหรืออธิบายผลซับซ้อน • Unnecessary use of graph:: หากนำเสนอข้อมูลในรูปตารางแล้วไม่ต้องนำเสนอด้วยกราฟอีก, ไม่ใช้กราฟเพื่อพรรณนาลักษณะตัวอย่างที่สุม

  3. ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการนำเสนอกราฟข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการนำเสนอกราฟ • Inappropriate graph type:: กราฟเส้นใช้แสดงแนวโน้มการตอบสนอง การเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่ศึกษาไปตามเวลา, แกน X ต้องเป็นตัวแปรต่อเนื่อง • Bad scale, bad labels :: ใช้สเกลของกราฟไม่เหมาะสม, หน่วยไม่เหมาะสม, ลืม label กราฟหรือทำไม่สมบูรณ์

  4. คำแนะนำทั่วไปในการเลือกใช้กราฟคำแนะนำทั่วไปในการเลือกใช้กราฟ • ถ้าต้องการแสดงให้เห็นแนวโน้ม (trend) จึงเลือกใช้กราฟเส้น (line graph) นอกนั้นควรใช้กราฟแท่ง (bar graph) • ถ้าต้องการแสดงการจำแนกในรูปสัดส่วนร้อยละที่ภาพรวมเท่ากับ 100% จึงใช้กราฟวงกลม • ไม่ควรมีเส้นกราฟมากกว่า 6 เส้นในกราฟเดียวกัน ในขณะกราฟแท่งที่มีข้อมูลเพียง 2-3 แท่งก็ไม่จำเป็นเช่นกัน • ควรแสดง error bar เพื่อแสดง confidence interval และช่วยตรวจสอบนัยสำคัญได้คร่าวๆ

  5. ควรใช้กราฟเส้นหรือกราฟแท่ง?ควรใช้กราฟเส้นหรือกราฟแท่ง? ทรีทเมนต์I และ IH มีผลต่อค่าเฉลี่ย CH4 ต่างกันทางสถิติหรือไม่? ทรีทเมนต์CI และ CIH มีผลต่อค่าเฉลี่ย CH4 ต่างกันทางสถิติหรือไม่? # Example I

  6. เห็นความแตกต่างระหว่างทรีทเมนต์A, B, C ชัดเจนหรือไม่? เห็นความแตกต่างระหว่างการใส่ปุ๋ย 4 ระดับชัดเจนหรือไม่? เห็นการเปลี่ยนแปลงในแต่ละสัปดาห์ชัดเจนหรือไม่? เห็นอิทธิพลร่วมระหว่างทรีทเมนต์กับระดับการใช้ปุ๋ยหรือไม่? # Example II

  7. # Example III • กราฟทั้งสองใช้ข้อมูลชุดเดียวกันในการนำเสนอ แต่ให้ความหมายต่างกันอย่างไร ? • กราฟใดถูกต้อง ? • หากผลการวิจัยได้ผลดังแสดงในกราฟที่ 2, จำเป็นต้องนำเสนอในบทความหรือไม่ ?

  8. # Example IV • การนำเสนอกราฟในลักษณะนี้เพียงพอแล้วหรือไม่ ? • สามารถนำเสนอกราฟที่ทำให้งานวิจัยนี้มีความน่าสนใจขึ้นได้อย่างไร ?

  9. ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการนำเสนอตารางข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการนำเสนอตาราง • Presenting raw data :: ไม่ควรใช้ตารางในการนำเสนอข้อมูลดิบ หรือแสดงรายละเอียดของตัวอย่างที่สุ่ม ควรใช้ช่วยในการอธิบายผล แสดงประเด็นที่ได้จากการศึกษา • Too complicate:: ไม่ควรทำให้ตารางมีความซับซ้อนหรือมีขนาดใหญ่เกินไป As much as is needs and not more than is necessary!

  10. ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการนำเสนอตารางข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการนำเสนอตาราง • Incomplete statistics :: แสดงค่าเฉลี่ยโดยไม่บอกค่าแสดงความผันแปร SD, %CV, etc. แสดงความแตกต่างของค่าเฉลี่ย (กำกับอักษร a,b) แต่ไม่ระบุค่า standard error, SEM, หรือค่า lsd, etc. ไม่ชัดเจนว่าเปรียบเทียบตามแนวคอลัมน์ หรือในแถว ฯลฯ ไม่ระบุหน่วย จำนวนทศนิยมมากเกินจำเป็น • Redundant :: ไม่ควรแสดงข้อมูลซ้ำๆ แสดงเป็นกรัม, กก., ทำเป็น % ด้วยข้อมูลเดียวกัน

  11. # Example I • ตารางนี้ยังไม่สมบูรณ์ เพราะเหตุใด ?

  12. # Example II • การตรวจสอบนัยสำคัญคร่าวๆจาก SEM?

  13. คำแนะนำทั่วไปในการแสดงตารางคำแนะนำทั่วไปในการแสดงตาราง • การเสนอตารางเป็นส่วนสำคัญของการเขียนบทความวิจัย ดังนั้นต้องออกแบบตารางให้เหมาะสม • ทุกตารางที่เสนอต้องมีการอ้างอิงในเนื้อหา • ถ้านำเสนอในรูปตารางแล้ว ไม่จำเป็นต้องอธิบายตารางซ้ำในเนื้อหาอีก • ควรจับเฉพาะประเด็นสำคัญที่วิเคราะห์ได้จากตารางไปอธิบายในเนื้อหา

  14. ข้อวิจารณ์บทความวารสารจากผู้ทรงคุณวุฒิข้อวิจารณ์บทความวารสารจากผู้ทรงคุณวุฒิ

  15. At A Glance • บทความยาวเกินไป • บทคัดย่อยาวหรือ Abstract ภาษาอังกฤษมีข้อผิดพลาดมาก • ชื่อเรื่องกับเนื้อหาโดยรวมไม่สอดคล้องกัน • Format ไม่ตรงกับวารสาร บางครั้ง format ยังอยู่ในรูปวิทยานิพนธ์หรือรายงานฉบับสมบูรณ์ • ตรวจสอบ Check list ของวารสารให้ชัดเจนก่อน submit

  16. ปัญหาพบบ่อยในส่วนบทนำปัญหาพบบ่อยในส่วนบทนำ • การตรวจเอกสารไม่ทั่วถึง ไม่มีการอ้างถึงงานวิจัยที่มีการทำและตีพิพม์มาก่อนแล้ว • งานวิจัยไม่มีประเด็นใหม่ • ที่มาของปัญหาและการทำงานวิจัยไม่ชัดเจน

  17. ปัญหาพบบ่อยในส่วนวิธีการปัญหาพบบ่อยในส่วนวิธีการ • ใช้ตัวสถิติไม่ถูกต้อง • จำนวนซ้ำไม่พอเพียง • Plot size ไม่ได้มาตรฐาน • ใช้เครื่องมือไม่ได้มาตรฐานหรือไม่เป็นที่ยอมรับ • แผนการทดลองไม่ถูกต้อง หรือไม่ให้รายละเอียดอย่างชัดเจน • ผู้อื่นทำซ้ำได้หรือไม่ หน่วยทดลองหาอีกได้หรือไม่

  18. ปัญหาพบบ่อยในส่วนผลและวิจารณ์ปัญหาพบบ่อยในส่วนผลและวิจารณ์ • ขาดการวิจารณ์ผลที่ได้จากตารางหรือกราฟ • ไม่แสดงค่าสถิติในตาราง • ใช้กราฟผิดประเภทใช้ scale ไม่ถูกต้อง • มองไม่เห็นประเด็นสำคัญที่ได้จากผลงานวิจัย ทำให้งานวิจัยไม่สมบูรณ์ • ขาดการนำเสนอให้เห็นภาพการนำไปใช้

  19. Example

  20. Serious problem for common rejection • Wrong journal format • Wrong statistics use, interpretation • Wrong methodology, under standard • Incomplete study, sampling, etc. • Plagiarism

  21. Plagiarism • ตีพิมพ์ซ้ำซ้อน ส่งตีพิมพ์หลายวารสารพร้อมกัน • ใช้ต้นฉบับเดิมเป็นฐาน ปรับปรุง/เพิ่มเติมเนื้อหาเพียงเล็กน้อยแล้วส่งวารสารใหม่ • ตัดต่อทรีทเมนต์ • คัดลอกกราฟ/ภาพ/ตาราง หรือนำข้อมูลตัวเลขจากบทความผู้อื่นมาดัดแปลง

  22. ส่งท้าย • เขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ ไม่ใช่ทำไม่ได้ • การทำวิจัยคือโลกแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ดังนั้นเรียนรู้โดยใช้ peer review ของวารสารเป็นผู้ชี้นำ • การเขียนบทความเป็นทักษะ (skill) ทำมาก คล่องมาก ในขณะเดียวกันเป็นเรื่องของการแสดงแนวคิดของผู้วิจัย

  23. ส่งท้าย (จริงๆ) • นักวิจัยที่ดี – generate บทความดีๆ – มีประเด็นชัดเจน – มีผู้อ้างอิงมาก – มีคนต่อยอดนำไปใช้ – เป็นประโยชน์ต่อวงการวิชาการ หรือ • นักวิจัยที่ดี – generate บทความมากๆ – มีแต่ประเด็นเล็กๆ หรือไม่ชัดเจน – อ้างอิงแต่ในทีมนักวิจัยเอง – คนนำไปต่อยอดไม่ถูก – เป็นประโยชน์ต่อใคร ???

More Related