1 / 45

สิ่งที่อาจารย์ที่ปรึกษาควรทราบ เกี่ยวกับงานทะเบียน

สิ่งที่อาจารย์ที่ปรึกษาควรทราบ เกี่ยวกับงานทะเบียน. การลงทะเบียนเรียน. การลงทะเบียนเรียน. เกินได้เพียง 2 ครั้ง ครั้งที่ 2 ต้องเป็นภาคสุดท้าย. ลงทะเบียนเรียนก่อนวันเปิดภาคการศึกษา.

metea
Download Presentation

สิ่งที่อาจารย์ที่ปรึกษาควรทราบ เกี่ยวกับงานทะเบียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สิ่งที่อาจารย์ที่ปรึกษาควรทราบสิ่งที่อาจารย์ที่ปรึกษาควรทราบ เกี่ยวกับงานทะเบียน

  2. การลงทะเบียนเรียน

  3. การลงทะเบียนเรียน เกินได้เพียง 2 ครั้ง ครั้งที่ 2 ต้องเป็นภาคสุดท้าย • ลงทะเบียนเรียนก่อนวันเปิดภาคการศึกษา

  4. พ้นสภาพเนื่องจากผลการเรียนให้ถือว่าผลการลงทะเบียนเรียนในภาคถัดมาเป็นโมฆะ ไม่มีผลผูกพันกับมหาวิทยาลัย และนักศึกษามีสิทธิ์ขอคืนเงิน ชำระเงินหลังวันที่กำหนดไว้ จะต้องชำระเงินค่าปรับวันละ 50 บาท แต่ไม่เกิน 500 บาท

  5. ลงทะเบียน สหกิจศึกษา • ไม่อนุญาตให้ลงเรียนวิชาอื่น

  6. นักศึกษาไม่ได้ลงทะเบียนเรียน 300 บาท • ในภาคการศึกษาถัดไปนักศึกษาจะขอกลับมาศึกษาต้องทำการ • คืนสภาพการเป็นนักศึกษา โดยเสียค่าธรรมเนียม 300 บาท หากไม่ดำเนินการใดๆมหาวิทยาลัยจะถอนชื่อนักศึกษาผู้นั้นออกจากทะเบียนนักศึกษาต้องการกลับต้องเสียค่าคืนสภาพ 300 บาท

  7. การลาพักการศึกษา ลาพักการศึกษาได้ไม่เกินสองภาคการศึกษาปกติ ติดต่อกัน

  8. การถอนรายวิชา

  9. การลงทะเบียนเรียนรายวิชาหนึ่งวิชาใดที่มีวิชาบังคับก่อน นักศึกษาจะต้องสอบผ่านวิชาบังคับก่อนจึงจะลงทะเบียนวิชานั้นได้ หากฝ่าฝืนจะถือว่าการลงทะเบียนเรียนรายวิชานั้นเป็นโมฆะ • จะลงควบได้เมื่อเป็นนักศึกษาปีสุดท้ายของหลักสูตรที่จะสำเร็จการศึกษาในปีการศึกษานั้นและจะต้องได้รับอนุมัติจากคณบดีก่อนการลงทะเบียนเรียน • ถ้าวิชาบังคับก่อนไม่ผ่าน จะถือว่าวิชาที่ลงควบไว้ไม่ผ่านด้วย

  10. นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อเนื่องควบคู่กับรายวิชาบังคับก่อนหากDropรายวิชาบังคับก่อน จะต้องDropรายวิชาต่อเนื่องคราวเดียวกันด้วย หากไม่Dropรายวิชาต่อเนื่องจะถือว่าการลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อเนื่องนั้นเป็นโมฆะ • การขอเพิ่มรายวิชาต้องกระทำภายในสัปดาห์ที่สองของภาคการศึกษาปกติและภายในสัปดาห์แรกของภาคการศึกษาฤดูร้อน • ถ้าถอนรายวิชาในสัปดาห์ที่สองของภาคการศึกษาปกติและภายในสัปดาห์แรกของภาคการศึกษาฤดูร้อนรายวิชานั้นจะไม่ปรากฏWในใบแสดงผลการศึกษา

  11. ถ้าถอนรายวิชาเมื่อพ้นกำหนดสัปดาห์ที่สองแต่ยังอยู่ภายในสิบสองสัปดาห์ของภาคการศึกษาปกติหรือภายในห้าสัปดาห์แรกของภาคการศึกษาฤดูร้อนจะได้รับคะแนนถอนรายวิชา W และ เมื่อพ้นกำหนดการถอนรายวิชาแล้ว นักศึกษาจะถอนเฉพาะรายวิชาไม่ได้ การลงทะเบียนเรียนรายวิชาเพิ่มจนมีจำนวนหน่วยกิตสูงกว่าหรือการถอนรายวิชาจนเหลือจำนวนหน่วยกิตต่ำกว่า9 หน่วยกิตไม่ได้ หากฝ่าฝืนจะถือว่าการลงทะเบียนเรียนดังกล่าวเป็นโมฆะ เว้นแต่จะมีเหตุผลอันควรและได้รับอนุมัติจากคณบดี

  12. การขาดสอบปลายภาคนักศึกษาที่ป่วยหรือมีเหตุสุดวิสัยทำให้ไม่สามารถเข้าสอบปลายภาคได้ นักศึกษาต้องขอผ่อนผันการสอบต่ออาจารย์ผู้สอนรายวิชานั้นภายในวันถัดไป หลังจากที่มีการสอบปลายภาครายวิชานั้น เว้นแต่จะมีเหตุอันสมควร คณะกรรมการประจำคณะเป็นผู้พิจารณาการขอผ่อนผันดังกล่าว

  13. ในกรณีนักศึกษาได้ชำระเงินค่าบำรุงการศึกษา ค่าลงทะเบียนเรียน ค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าอื่นใดตามประกาศของมหาวิทยาลัยแล้ว แต่ต้องการลาพักในภายหลังมหาวิทยาลัยจะไม่คืนเงินดังกล่าวให้ แต่นักศึกษาไม่ต้องชำระเงินค่ารักษาสภาพการเป็นนักศึกษา - การลาพักการศึกษาไม่ว่าด้วยเหตุใด ไม่เป็นเหตุให้ขยายระยะเวลาการศึกษาเกินกว่าสองเท่าของแผนการเรียนตามหลักสูตรนับแต่วันขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ยกเว้นภาคการศึกษาฤดูร้อน

  14. ในกรณีนักศึกษาทำการยืนยันการลงทะเบียนแล้วไม่ชำระเงินตามประกาศของมหาวิทยาลัย จะถูกยกเลิกการลงทะเบียนทั้งหมด นักศึกษาต้องมาทำการลาพักเพียงอย่างเดียวเท่านั้น

  15. นักศึกษาอาจลาออกจากการเป็นนักศึกษาได้โดยยื่นคำร้องขอลาออกต่อคณะที่นักศึกษาสังกัด และต้องไม่มีหนี้สินกับมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ต้องได้รับอนุมัติจากคณบดี

  16. เรียนข้ามสถานศึกษา • 1. เป็นภาคสุดท้าย และรายวิชาไม่เปิดสอนในภาคการศึกษานั้น 2. รายวิชาจะต้องเทียบได้กับรายวิชาตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย การเทียบให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะเจ้าของรายวิชาโดยถือเกณฑ์เนื้อหาและจำนวนหน่วยกิต เป็นหลัก ส่วนการอนุมัติให้ลงทะเบียนเรียนข้ามสถานศึกษา ให้เป็นอำนาจของคณบดีที่นักศึกษาสังกัดอยู่ 3. นักศึกษายื่นคำร้องขอเรียนข้ามสถานศึกษาต่อคณบดีเพื่อพิจารณาและนักศึกษาชำระเงินตามประกาศที่มหาวิทยาลัยกำหนดไว้ให้เรียบร้อย หลังจากนั้นจึงไปดำเนินการ ณ สถานศึกษาที่นักศึกษาต้องการลงทะเบียนเรียนข้ามสถานศึกษา

  17. นักศึกษาไม่สามารถชำระเงินนักศึกษาไม่สามารถชำระเงิน • กรณีที่นักศึกษาไม่สามารถชำระเงินค่าลงทะเบียนได้ตามกำหนดของ มหาวิทยาลัยฯนักศึกษาสามารถทำคำร้องขอผ่อนผันการชำระเงินภายใน2 สัปดาห์ต่อคณบดีทั้งนี้ให้มีระยะเวลาในการผ่อนผันได้ไม่เกินก่อนสอบ กลางภาค กรณีที่นักศึกษาได้รับการผ่อนผันการชำระค่าลงทะเบียนแล้วไม่ปฏิบัติตาม ระยะเวลาที่กำหนดจะถูกถอนชื่อออกจากการเป็นนักศึกษา ยกเว้นกรณีมี เหตุผลอันควร ให้อยู่ในดุลพินิจของอธิการบดี

  18. แก้ I ยกเว้นมิใช่ความผิดของนักศึกษา ให้เกรดได้เกิน C

  19. เกณฑ์การพ้นสภาพ เนื่องจากผลการศึกษา

  20. การลงทะเบียนเรียนซ้ำ หรือเรียกว่า การเรียนเน้น (Regrade) ไม่มีสิทธิได้เกียรตินิยม วิชาที่ลงทะเบียนรีเกรดได้ต้องได้เกรดไม่เกิน D+ ในกรณีที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชาใดซ้ำหรือแทนกันให้นับหน่วยกิตของรายวิชาที่ได้ระดับคะแนนดีที่สุดเพียงครั้งเดียว ยกเว้นครบหลักสูตร เกรดอะไรก็ได้

  21. การชำระค่าธรรมเนียมการเรียนและค่าหน่วยกิต เป็นแบบเหมาจ่าย ตามอัตราที่มหาวิทยาลัยกำหนด แต่ถ้าลงทะเบียนไม่เกิน 12 หน่วยกิต จะเสียค่าธรรมเนียมการเรียนและค่าหน่วยกิตเพียงครึ่งหนึ่ง • การลงทะเบียนจะเป็นการลงทะเบียนแบบ Section ผ่าน Web ของสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน http://www.ascar.rmutk.ac.thโดยปฏิบัติตามขั้นตอนการลงทะเบียนที่กำหนดให้

  22. ถูกถอนชื่อ รวม 900 บาท

  23. ถ้าถูกยกเลิกการลงทะเบียนต้องการขอกลับเข้าศึกษาในภาคนั้น(ภาคที่มีแผนการเรียนปกติ)และได้รับการอนุมัติจากอธิการบดีถ้าถูกยกเลิกการลงทะเบียนต้องการขอกลับเข้าศึกษาในภาคนั้น(ภาคที่มีแผนการเรียนปกติ)และได้รับการอนุมัติจากอธิการบดี

  24. การย้ายคณะและการเปลี่ยนสาขาวิชาการย้ายคณะและการเปลี่ยนสาขาวิชา 500 บ. 18 น. ชีพ 2 วิชา 2000 บ. 18 น. ชีพ 2 วิชาGPA 2.00 จะต้องมีผลการศึกษา 1 ภาคการศึกษา ก่อนและสามารถกระทำได้เพียงครั้งเดียวตลอดระยะเวลาที่ศึกษาอยู่เท่านั้น และ ไม่เป็นเหตุให้ขยายเวลาการศึกษาเกินกว่าสองเท่าของแผนการเรียนตามหลักสูตร

  25. การย้ายสาขา หรือ คณะ ทุกวิชาที่เคยลงทะเบียนมาแล้วจะมาปรากฎใน TR ใหม่ ทั้งหมด พร้อมกับคิด GPA ต่อเนื่องกับของใหม่ • ไม่แนะนำให้ย้ายคณะ หรือ สาขา แต่ควรขอเข้าใหม่ โดยโอนเฉพาะวิชาที่ได้ C ขึ้นไป

  26. นักศึกษาที่เข้ามาแบบภาคสมทบจะขอย้ายรอบเป็นภาคปกติไม่ได้ แต่สามารถลงทะเบียนข้ามรอบได้ โดยได้รับการอนุมัติจากคณบดี และเสียค่าลงทะเบียนข้ามภาควิชาละ 1000 บาท ลงได้ไม่เกิน 2 วิชา การย้ายคณะ/สาขาไม่เป็นเหตุให้สามารถขยายระยะเวลาการศึกษาเกินกว่าสองเท่าของแผนการเรียนตามหลักสูตรนับแต่วัน ขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ยกเว้นการศึกษาภาคฤดูร้อน

  27. ข้อปฏิบัติการเกินเวลาที่กำหนดข้อปฏิบัติการเกินเวลาที่กำหนด

  28. ทำไมต้องรักษาสภาพ การเป็นนักศึกษา ? ตอบ การไม่ลงทะเบียนชำระเงิน ในภาคการศึกษาใดก็ตาม ถือว่า นักศึกษาพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา จึงต้องขอ รักษาสภาพการเป็นนักศึกษา เพื่อให้ยังคงสถานภาพการเป็นนักศึกษา ไว้ และเมื่อพร้อมที่จะศึกษาต่อก็สามารถลงทะเบียนเรียนได้ *** ทั้งนี้จะต้องไม่เกินอายุเวลาเรียน ตามข้อกำหนดฯ

  29. ลาพักการศึกษาไว้ โดยไม่ยื่นคำร้องและไม่ได้ชำระเงินค่ารักษาสภาพนักศึกษาไว้ แต่อยากจะกลับมาเรียนต่อ จะต้องทำอย่างไร ? ตอบ ให้ยื่นคำร้องขอคืนสภาพนักศึกษา และรักษาสภาพ ย้อนหลัง พร้อมชำระเงินเมื่อได้รับการอนุญาตจาก มหาวิทยาลัย *** ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามข้อกำหนด การลาพักการศึกษา หรือรักษาสภาพนักศึกษา

  30. ลงทะเบียนเรียน และชำระเงินลงทะเบียนเรียน และได้เข้าเรียนแล้ว แต่ไม่สามารถเรียนได้จนจบเฉพาะภาคการศึกษานั้น จะต้องรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา หรือไม่ ? ตอบ ไม่ต้องรักษาสภาพนักศึกษา เพราะนักศึกษาได้ ชำระเงินลงทะเบียนเรียนแล้ว *** ให้ยื่นคำร้องขอยกเลิกวิชาเรียนทั้งหมด และขอลาพักการศึกษาก่อนสอบปลายภาค 2 สัปดาห์ มิฉะนั้นผลการเรียนทั้งหมด จะเป็น F

  31. การขอรักษาสภาพการเป็นนักศึกษาจะรักษาสภาพได้กี่ภาคการศึกษา ? ตอบ - นักศึกษาภาคปกติ รักษาสภาพนักศึกษาได้ไม่เกิน 2 ภาคการศึกษาติดต่อกัน

  32. นักศึกษาที่เข้าศึกษาในภาคการศึกษาแรก ทำไมจึงลาพักการศึกษาไม่ได้ ? ตอบ เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย ดังนั้นผู้ที่จะเข้าศึกษาต้องเตรียมความพร้อม ในทุกด้าน ก่อนตัดสินใจเข้าศึกษา

  33. ผลการศึกษาเฉลี่ยรวมแล้วไม่ถึงเกณฑ์ที่กำหนด จะต้องทำอย่างไร? ตอบ1) ผลการศึกษาเฉลี่ยรวมแล้วไม่ถึงเกณฑ์กำหนด หมายถึง.. พ้นสภาพการเป็นนักศึกษาตามข้อกำหนด โดยระเบียบการวัดผลนักศึกษา จะลงทะเบียนเพื่อ ศึกษาต่อไปไม่ได้ ถือว่าพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา 2) หากต้องการเรียนให้สำเร็จปริญญาตรี ให้สมัครเข้ามา เป็นนักศึกษาใหม่ และให้นำรายวิชาที่มีผลการเรียนไม่ ต่ำกว่า C มาทำเรื่องขอเทียบโอนรายวิชา (ไม่ต้องลง เรียนใหม่)

  34. แก้ Iแล้วในภาคการศึกษาที่ผ่านมา และเกรดเฉลี่ยไม่ถึงเกณฑ์ ทำให้พ้นสภาพในภาคการศึกษานี้ ซึ่งได้ลงทะเบียนชำระค่าลงทะเบียนไปแล้ว มีแนวปฏิบัติอย่างไร? ตอบ - นักศึกษาที่มีผลการเรียนต่ำ ใกล้เคียงกับเกณฑ์ในการพ้นสภาพควร รีบดำเนินการ แก้ไขผลการเรียน I อย่าปล่อยให้ข้ามภาคการศึกษา เพราะทำให้มีปัญหาในการประมวลผลการศึกษา ที่ไม่สามารถคิด ค่าคะแนนเฉลี่ยได้ครบทุกวิชา (วิชาที่ติด I ไม่นำมาคิดเฉลี่ย) ดังนั้น เมื่อนำผลการเรียนหลังจากแก้ I มาประมวลผลใหม่ ผลการเรียน อาจไม่ถึงเกณฑ์ ทำให้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา และต้องยอมรับ สภาพ เนื่องจากไม่สามารถแก้ไขระดับคะแนนเฉลี่ยได้ - ลงทะเบียนชำระเงินไปแล้ว ก่อนที่จะทราบว่าพ้นสภาพการเป็น นักศึกษามหาวิทยาลัยจะพิจารณาคำร้องขอรับเงินลงทะเบียนคืน เป็นรายกรณี

  35. สิทธิ์การเข้าใช้ระบบของอาจารย์ที่ปรึกษาสิทธิ์การเข้าใช้ระบบของอาจารย์ที่ปรึกษา 1. เข้าสู่ www.ascar.rmutk.ac.th

  36. 2. คลิกเพื่อสู่ระบบงานทะเบียน

  37. 3. คลิกเพื่อเข้าสู่ระบบงานทะเบียน

  38. 4. กรณีที่ใช้ Internet Explorer คลิก Continue to this Website (not recommended).

  39. 4.1 กรณีที่ใช้ Google Chrome คลิก Proceed anyway

  40. 4.2 กรณีที่ใช้ Firefox ให้คลิกตามขั้นตอน

  41. 5. ป้อนรหัสประจำตัวผู้สอน และรหัสผ่าน (หากลืมรหัสประจำตัวผู้สอน และรหัสผ่านกรุณาติดต่อ สวท.)

  42. 6. เข้าสู่ระบบสำเร็จ

  43. 7. รายชื่อนักศึกษาที่ให้คำปรึกษา

  44. 8. ตรวจสอบข้อมูลนักศึกษาเป็นรายบุคคล

  45. 9. ตรวจสอบจบนักศึกษาเป็นรายบุคคล

More Related