1 / 105

การจัดทำดัชนีรวม (Composite Index) วัดการพัฒนาอุตสาหกรรม

การจัดทำดัชนีรวม (Composite Index) วัดการพัฒนาอุตสาหกรรม. ดัชนีรวม (Composite Index)

meryle
Download Presentation

การจัดทำดัชนีรวม (Composite Index) วัดการพัฒนาอุตสาหกรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำดัชนีรวม (Composite Index) • วัดการพัฒนาอุตสาหกรรม

  2. ดัชนีรวม (Composite Index) ค่าตัวเลขเดียวที่ได้จากการนำเอาค่าของตัวชี้วัดหลาย ๆ ตัวมาผนวกเข้าด้วยกัน ด้วยกระบวนการที่เป็นมาตรฐานสำหรับใช้เป็นมาตรวัดทางสถิติเพื่อชี้สถานการณ์ในภาพรวม ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง การใช้ดัชนีรวมก็เพื่อให้เกิดความเข้าใจง่าย และเป็นเครื่องมือในการสื่อสารให้สาธารณชนได้รับทราบ

  3. แนวทางการจัดทำดัชนีรวมแนวทางการจัดทำดัชนีรวม • การจัดทำดัชนี ที่มีมาตรฐานเทียบเคียงเป็นผลที่คาดหวังว่าควรจะเป็น โดยอาจเทียบเคียงกับค่าเป้าหมายจากแผนยุทธศาสตร์ หรือเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล หลักการคือปรับค่าผลที่คาดหวังให้เท่ากับ 100 จากนั้นจึงปรับค่าที่เป็นจริงของตัวชี้วัดย่อยที่จะนำมาสร้างดัชนี ให้มีค่าตามสัดส่วนกับ 100 • การจัดทำดัชนี โดยกำหนดปีฐานให้กับตัวชี้วัด โดยมีค่าเป็น 100 ปีต่อมาจากปีฐานจะมีค่าเทียบเคียงกับปีฐาน กล่าวได้ว่าเป็นการพิจารณาแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของดัชนี จากนั้นจึงนำค่าแนวโน้มของดัชนีย่อยทุกตัวมาผนวกกันเป็นดัชนีรวม

  4. วัตถุประสงค์ของการจัดทำดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรมวัตถุประสงค์ของการจัดทำดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรม • เพื่อพัฒนาดัชนีชี้วัด/ตัวชี้วัดในระดับภาพรวมและรายสาขาอุตสาหกรรมที่มีความเป็นระบบมากยิ่งขึ้น และสามารถเห็นถึงผลการประเมินและผลการเปลี่ยนแปลงได้ชัดเจนขึ้น • เพื่อนำผลจากการพัฒนาดัชนีชี้วัด/ตัวชี้วัด มาใช้ประเมินผลการพัฒนาอุตสาหกรรมทั้งในภาพรวม และรายสาขาอุตสาหกรรมเป้าหมาย • เพื่อผลักดันให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำดัชนีชี้วัด/ตัวชี้วัดทั้งในระดับภาพรวมและรายสาขาอุตสาหกรรมไปสู่การปฏิบัติ

  5. - ศึกษาและเปรียบเทียบตัวชี้วัดด้านอุตสาหกรรมต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ - รับฟังความคิดเห็นจากหน่วยงาน/บุคคลที่เกี่ยวข้องเพื่อปรับปรุงระบบตัวชี้วัดให้ถูกต้องและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมมากที่สุด - จัดทำตัวชี้วัดการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมการผลิตในระดับภาพรวม ให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนา - คัดเลือกตัวชี้วัดที่มีความเหมาะสมกับลักษณะของแต่ละอุตสาหกรรมรายสาขาที่กำหนดไว้ • - นำตัวชี้วัดในระดับภาพรวม มาสร้างดัชนีรวม (composite Index) • - นำตัวชี้วัดของแต่ละอุตสาหกรรมที่กำหนดไว้ มาสร้างดัชนีรวมของแต่ละสาขาอุตสาหกรรม •  ดัชนีรวม (Composite Index) ในระดับภาพรวมของอุตสาหกรรม •  ดัชนีรวม (Composite Index) รายอุตสาหกรรม 18 สาขาอุตสาหกรรม กรอบแนวคิดการจัดทำ Composite Index วัดการพัฒนาอุตสาหกรรม

  6. การคัดเลือกตัวชี้วัดที่ใช้ในการจัดทำดัชนีรวมการคัดเลือกตัวชี้วัดที่ใช้ในการจัดทำดัชนีรวม จากการทบทวนตัวชี้วัด ได้ตัวชี้วัดจำนวน 22 ตัวชี้วัด ซึ่งจำแนกออกตามมิติของการพัฒนาอุตสาหกรรม เพื่อให้ตัวชี้วัดที่นำมาสร้างดัชนีรวมมีความครอบคลุมในมุมมองของการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างรอบด้านขึ้น

  7. ตัวชี้วัดในมิติด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต (5 ตัว) ตัวชี้วัดในมิติด้านเสถียรภาพ (5 ตัว) • การลงทุนในการวิจัยและพัฒนา (R&D Investment) • การเพิ่มขึ้นของจำนวนการยื่นขอจดสิทธิบัตร (Patent Application Growth) • การเพิ่มขึ้นของการผ่านการรับรองมาตรฐานสากล (Growth of Standard Certification) • ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ (New Market Penetration) • ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ (Logistics Cost) • ผลิตภาพการผลิตโดยรวม (Total Factor Productivity: TFP) • ผลิตภาพแรงงาน (Labor Productivity) • ผลิตภาพวัตถุดิบ (Material Productivity) • ความเข้มข้นในการใช้พลังงาน (Energy Intensity)

  8. ตัวชี้วัดในมิติด้านความสามารถในการแข่งขันและการปรับตัว (5 ตัว) • สัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนในการผลิต (Local Content) • การขยายตัวของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (Growth of Manufacturing GDP origination by SMEs) • ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม (Industrial Trade Dependency) • อัตราส่วนเงินลงทุนโดยตรงในประเทศ/ต่างประเทศ (DDI/FDI Ratio) • การกระจุกตัวของตลาดส่งออก (Export Market Concentration)

  9. ตัวชี้วัดในมิติด้านความยั่งยืน (8 ตัว) จากตัวชี้วัดในระดับภาพรวมของภาคอุตสาหกรรมรวม 22 ตัวชี้วัด นำมาคัดเลือกให้เป็นตัวชี้วัดให้กับรายสาขาอุตสาหกรรมที่กำหนดไว้ 18 อุตสาหกรรม โดยเลือกตามความสำคัญและความสามารถในการได้ข้อมูล ซึ่งในแต่ละอุตสาหกรรมจะมีอยู่ 10-12 ตัวชี้วัด • การใช้พลังงานใหม่และพลังงานหมุนเวียน (New and renewable Energy) • การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 Emission) • ปริมาณกากของเสียอันตรายจากโรงงาน (Industrial Hazardous Waste) • ผู้ประกอบการที่ทำผิดกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม (Violation of Environmental Legal) • สัดส่วนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมการผลิตที่อยู่ในระบบประกันสังคมต่อแรงงานทั้งหมด (Labor in Social Security System) • แรงงานที่มีการศึกษาต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานต่อจำนวนแรงงานทั้งหมด (Labor Education) • การขยายตัวของการจ้างงาน (Growth of Employment) • การเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน (Accident to labor)

  10. การสร้างตัวชี้วัด • ผลิตภาพการผลิตโดยรวม (Total Factor Productivity: TFP) ประมวลจากแบบ รง.9 สศอ. • ผลิตภาพแรงงาน (Labor Productivity) มูลค่า GDP ของภาคอุตสาหกรรม/ปริมาณแรงงานภาคอุตสาหกรรม • ผลิตภาพวัตถุดิบ (Material Productivity) มูลค่าการผลิตของภาคอุตสาหกรรม/มูลค่าวัตถุดิบที่ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต (ข้อมูลจากแบบ รง.9) • ความเข้มข้นในการใช้พลังงาน (Energy Intensity) ปริมาณการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายในอุตสาหกรรมการผลิต (ตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ) (ข้อมูลจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานทดแทน) / มูลค่า GDP ของภาคอุตสาหกรรม • การลงทุนในการวิจัยและพัฒนา (R&D Investment) มูลค่าการลงทุนใน R&D ในภาคอุตสาหกรรม/มูลค่าการผลิตของผลผลิตภาคอุตสาหกรรม คูณด้วย 100 (ข้อมูลจากแบบ รง.9)

  11. การเพิ่มขึ้นของจำนวนการยื่นขอจดสิทธิบัตรการเพิ่มขึ้นของจำนวนการยื่นขอจดสิทธิบัตร • การเพิ่มขึ้นของการยื่นขอสิทธิบัตรในหมวดสินค้าอุตสาหกรรมของปีปัจจุบันเทียบกับปีที่แล้ว คูณด้วย 100 (ข้อมูลจากกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์) • การเพิ่มขึ้นของจำนวนการได้รับรองมาตรฐานสากล • การเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ประกอบการที่ได้รับรองมาตรฐานสากล ISO 9000 และ 14001 ของปีปัจจุบันเทียบกับปีที่แล้ว คูณด้วย 100 (ข้อมูลจาก สมอ.) • ความสามารถในการเจาะตลาดใหม่ • การเพิ่มขึ้นของมูลค่าการส่งออกไปยังตลาดที่เป็นเป้าหมายใหม่ของปีปัจจุบัน เทียบกับปีที่แล้ว คูณด้วย 100 [ตลาดใหม่ หมายถึงตลาดอาเซียน] (ข้อมูลจากศูนย์เทคโนโลยีสารมนเทศและการสื่อสาร สำนักปลัดกระทรวงพาณิชย์)

  12. ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ (Logistics Cost) • ต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ของภาคอุตสาหกรรม/มูลค่าผลผลิตของภาคอุตสาหกรรม คูณด้วย 100 (ข้อมูลจาก รง.9) • การใช้วัตถุดิบในประเทศ (Local content) • มูลค่าการใช้วัตถุดิบภายในประเทศ/ต้นทุนการผลิตทั้งหมดของภาคอุตสาหกรรม คูณด้วย 100 (ข้อมูลจาก รง.9) • การขยายตัวของมูลค่า GDP ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม • มูลค่า GDP ของผู้ประกอบการ SMEs ปีปัจจุบันเทียบกับปีที่ผ่านมาคูณด้วย 100 (สสว.) • 12.อัตราส่วนเงินลงทุนโดยตรงในประเทศต่อต่างประเทศ • .DDI : . FDI (ข้อมูลจาก BOI) • DDI+FDI DDI+FDI • 13.ระดับความเปิดของอุตสาหกรรม • มูลค่า Import + มูลค่า Export / GDP คูณด้วย 100

  13. การกระจุกตัวของตลาดส่งออก (Export Market Concentration) • มูลค่าการส่งออกของภาคอุตสาหกรรมไปยังตลาดส่งออกรอง/มูลค่าการส่งออกของภาคอุตสาหกรรมทั้งหมด คูณด้วย 100 (ตลาดรองหมายถึงประเทศคู่ค้าอื่นๆ ที่ไม่ได้มีมูลค่าการส่งออกสูงสุด 10 ประเทศ) • แรงงานที่อยู่ในระบบประกันสังคม • จำนวนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมที่อยู่ในระบบประกันสังคม (ข้อมูลจากสำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน) / จำนวนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมทั้งหมด คูณด้วย 100 • แรงงานที่มีการศึกษาต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน • จำนวนแรงงานที่มีระดับการศึกษาต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (เกณฑ์มาตรฐาน= สูงกว่าชั้นมัธยม 3) / จำนวนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมทั้งหมด คูณด้วย 100 (ข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ) • 17. การขยายตัวของการจ้างงาน • ปริมาณการจ้างงานในปีปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไปจากปีที่ผ่านมา/ปริมาณการจ้างงานในปีที่ผ่านมา คูณด้วย 100

  14. การเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน • จำนวนแรงงานที่เคยได้รับอุบัติเหตุจากการทำงานในภาคอุตสาหกรรม(ข้อมูลจากสำนักงานประกันสังคม)/จำนวนแรงงานทั้งหมดในภาคอุตสาหกรรม คูณด้วย 100 • การใช้พลังงานใหม่และหมุนเวียน • ปริมาณพลังงานใหม่และหมุนเวียนที่ใช้ทั้งหมดในอุตสาหกรรมการผลิต (พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ) / ปริมาณพลังงานที่ใช้ทั้งหมดในอุตสาหกรรมการผลิต (พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ) คูณด้วย 100 • (ข้อมูลจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน) • การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ • ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากภาคอุตสาหกรรม (ข้อมูจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน) / GDP ของภาคอุตสาหกรรมคูณด้วย 100

  15. จำนวนโรงงานที่ทำผิดกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม • จำนวนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมที่ทำผิดกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม/จำนวนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทั้งหมด คูณด้วย 100 (ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม) • กากของเสียอันตรายจากโรงงานอุตสาหกรรม • ปริมาณพลังงานใหม่และหมุนเวียนที่ใช้ทั้งหมดในอุตสาหกรรมการผลิต (พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ) /ปริมาณพลังงานที่ใช้ทั้งหมดในอุตสาหกรรมการผลิต (พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ) คูณด้วย 100 • (ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมหรือจากรายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย กองควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)

  16. ผลการประเมินการพัฒนาอุตสาหกรรมจากตัวชี้วัดการพัฒนาอุตสาหกรรมผลการประเมินการพัฒนาอุตสาหกรรมจากตัวชี้วัดการพัฒนาอุตสาหกรรม

  17. ผลการประเมินการพัฒนาอุตสาหกรรมในภาพรวม จากตัวชี้วัดการพัฒนาอุตสาหกรรม จากตัวชี้วัดการพัฒนาอุตสาหกรรมในภาพรวมที่ได้ทบทวนแล้ว ใน 4 มิติ มีทั้งสิ้น 22 ตัวชี้วัด นำมาแสดงข้อมูลเพื่อการประเมินภาพการพัฒนาอุตสาหกรรม ตัวอย่าง ตารางแสดงอัตราการขยายตัวของผลิตภาพการผลิตโดยรวมของภาคอุตสาหกรรม พ.ศ. 2550–2553 • ที่มา:ข้อมูลระดับผลิตภาพโดยรวม ได้จากรายงานผลิตภาพและผลประกอบการอุตสาหกรรม ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

  18. แผนภาพแสดงผลิตภาพการผลิตโดยรวม (TFP) ของภาคอุตสาหกรรม พ.ศ. 2550-2552

  19. ตัวอย่าง ตารางแสดงผลิตภาพแรงงานภาคอุตสาหกรรมการผลิต พ.ศ. 2550-2553 ที่มา: มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคอุตสาหกรรมการผลิต ได้จากบัญชีรายได้ประชาชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ โดยใช้ข้อมูล ณ ราคาคงที่ ของการคำนวณด้านรายได้ (Income Approach) จำนวนแรงงานแรงงานทั้งหมด ได้จากสถิติภาวะการทำงานของประชากรภาคอุตสาหกรรมการผลิต สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

  20. แผนภาพแสดงผลิตภาพแรงงานภาคอุตสาหกรรมการผลิต พ.ศ. 2550-2553

  21. ผลการประเมินการพัฒนารายสาขาอุตสาหกรรมจากตัวชี้วัดการพัฒนาอุตสาหกรรมผลการประเมินการพัฒนารายสาขาอุตสาหกรรมจากตัวชี้วัดการพัฒนาอุตสาหกรรม จากตัวชี้วัดการพัฒนาอุตสาหกรรมในภาพรวมที่ได้ทบทวนแล้ว มีทั้งสิ้น 10-12 ตัวชี้วัด นำมาแสดงข้อมูลเพื่อการประเมินภาพการพัฒนาอุตสาหกรรม ตัวอย่าง ตารางแสดงอัตราการขยายตัวการส่งออกสินค้าของอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ไปยังตลาดใหม่ พ.ศ. 2550–2552 • ที่มา: ข้อมูลการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ไปยังประเทศกลุ่มอาเซียน ได้จากกระทรวงพาณิชย์ • หมายเหตุ: ในที่นี้ ตลาดใหม่หมายถึง กลุ่มตลาดอาเซียน 9 ประเทศ และอัตราแลกเปลี่ยนค่าเงินบาท อ้างอิงจากธนาคารแห่งประเทศไทย โดยคิดค่าเฉลี่ยของมูลค่าในแต่ละปี

  22. ตารางแสดงการขยายตัวการส่งออกสินค้าของอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ไปยังตลาดใหม่ พ.ศ.2550–2552 • ที่มา: มูลค่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ไปยังประเทศกลุ่มอาเซียน ได้จากกระทรวงพาณิชย์ • หมายเหตุ: ในที่นี้ ตลาดใหม่หมายถึง กลุ่มตลาดอาเซียน 9 ประเทศ และอัตราแลกเปลี่ยนค่าเงินบาท อ้างอิงจากธนาคารแห่งประเทศไทย โดยคิดค่าเฉลี่ยของมูลค่าในแต่ละปี

  23. แผนภาพแสดงอัตราการขยายตัวการส่งออกสินค้าของอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ไปยังตลาดใหม่ พ.ศ. 2550–2552

  24. ตารางแสดงระดับการเปิดของอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล พ.ศ. 2550–2552 • ที่มา: การนำเข้าและส่งออก จากศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ • มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคอุตสาหกรรมการผลิต จากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ โดยใช้ข้อมูล ณ ราคาคงที่

  25. แผนภาพแสดงระดับการเปิดของอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล พ.ศ. 2550–2552

  26. การสร้างดัชนีรวมจากตัวชี้วัดการสร้างดัชนีรวมจากตัวชี้วัด • ตัวชี้วัด 22 ตัวจะใช้ในการจัดทำ Composite Index โดยจำแนกอกตามมิติการพัฒนาอุตสาหกรรม 4 มิติ และรวมทุกมิติ ทำให้ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรม มีจำนวน 5 ดัชนี • Composite Index วัดการพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา 18 อุตสาหกรรม ไม่มีการจำแนกรายมิติเนื่องจากตัวชี้วัดมีจำนวนน้อย ทำให้ดัชนีรวมวัดการพัฒนารายสาขาอุตสาหกรรม มีจำนวน 18 ดัชนี ตามจำนวนอุตสาหกรรมที่กำหนดไว้ • ดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรม ที่สร้างขึ้นเป็นดัชนีแนวโน้มที่ใช้ดูระดับการพัฒนาเมื่อเวลาผ่านไป โดยใช้ปีใดปีหนึ่งเป็นปีฐาน โดยปกติปีฐานจะใช้ปีที่มีระดับการพัฒนาที่ค่อนข้างมีเสถียรภาพ สำหรับการศึกษาครั้งนี้ได้กำหนดให้ปี 2550 เป็นปีฐาน เพื่อวัดผลการพัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่องในปีต่อไป โดยทดลองทำ 3 ปี คือ ปี 2550-2552

  27. การสร้างดัชนีรวมวัดการพัฒนาอุตสาหกรรม ระดับภาพรวม ให้ความสำคัญต่อมิติการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมอย่างเท่าเทียมกัน จึงมีค่าเท่ากับ 0.25 ในแต่ละมิติ • การสร้างดัชนีรวมการพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา ไม่มีการจำแนกรายมิติ เนื่องจากตัวชี้วัดมีจำนวนน้อยกว่า • กรณีดัชนีรวมของอุตสาหกรรมในระดับภาพรวม ในที่นี้ Composite Index=0.25 [(PE1+PE2+PE3+PE4)/4]+ 0.25 [(CA1+CA2+CA3+CA4+CA5)/5] + 0.25 (St1+St2+St3+St4+St5)/5] + 0.25(Su1+Su2+Su3+Su4+Su5+Su6+Su7+Su8)/8] • กรณีดัชนีรวมรายสาขาอุตสาหกรรม ในที่นี้ Composite Index= (I1+I2+I3+..........+In) * 1/n

  28. การสร้างดัชนีเพื่อการวัดการพัฒนาการสร้างดัชนีเพื่อการวัดการพัฒนา ในภาพรวมของภาคอุตสาหกรรม

  29. มิติที่ 1 การพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต (Production Efficiency) • 1. ดัชนีผลิตภาพการผลิตโดยรวม • 2. ดัชนีผลิตภาพแรงงาน

  30. 3. ดัชนีผลิตภาพวัตถุดิบ • 4. ดัชนีความเข้มข้นในการใช้พลังงาน (Energy Intensity)

  31. มิติที่ 2 ความสามารถในการแข่งขันและการปรับตัว (Competitiveness and Adaptability) 5. ดัชนีการลงทุนในการวิจัยและพัฒนา (R&D Investment) 6. ดัชนีการเพิ่มขึ้นของจำนวนการยื่นขอจดสิทธิบัตร (Patent Application Growth)

  32. 7. ดัชนีการเพิ่มขึ้นของจำนวนการได้รับการรับรองมาตรฐานสากล 8. ดัชนีความสามารถในการเจาะตลาดใหม่

  33. 9. ดัชนีค่าใช้จ่ายทางด้านโลจิสติกส์

  34. มิติที่ 3 ด้านเสถียรภาพ (Stability) 10. ดัชนีสัดส่วนการใช้วัตถุดิบภายในประเทศต่อต้นทุนในการผลิตทั้งหมด (Local content)

  35. 11. ดัชนีอัตราการขยายตัวของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของ SMEs 12. ดัชนีสัดส่วนมูลค่าเงินลงทุนโดยตรงในประเทศต่อต่างประเทศ

  36. 13. ดัชนีระดับความเปิดของอุตสาหกรรม 14. ดัชนีการกระจุกตัวของตลาดส่งออก

  37. มิติที่ 4ด้านความยั่งยืน (Sustainability) 15. ตัวชี้วัดการใช้พลังงานใหม่และพลังงานหมุนเวียน 16. ตัวชี้วัดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

  38. 17. ตัวชี้วัดปริมาณกากของเสียอันตรายจากโรงงาน 18. ตัวชี้วัดผู้ประกอบการที่ทำผิดกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม

More Related