260 likes | 485 Views
การวาง indicators ให้สอดคล้องกับ Self assessment 2007. โครงการสัมมนาเรื่องตัวชี้วัดคุณภาพของการดูแลผู้ป่วย วันอังคารที่ 26 มิถุนายน 2550 เวลา 13.00 – 16.00น. ณ. ห้องประชุมชั้น 15 อาคารสุจิณโณ. เอกสารระดับ PCT และ Unit. ระดับ PCT(CLT) 1.1 Service profile ระดับ PCT
E N D
การวาง indicators ให้สอดคล้องกับ Self assessment 2007 โครงการสัมมนาเรื่องตัวชี้วัดคุณภาพของการดูแลผู้ป่วย วันอังคารที่ 26 มิถุนายน 2550 เวลา 13.00 – 16.00น. ณ. ห้องประชุมชั้น 15 อาคารสุจิณโณ
เอกสารระดับ PCT และ Unit • ระดับ PCT(CLT) 1.1 Serviceprofile ระดับPCT 1.2 Clinical tracersที่ทำร่วมกับหน่วยงานต่างๆ • ระดับหน่วยงาน 2.1 Serviceprofile ระดับPCT 2.2 Clinical tracerที่ตนทำกับ PCT** ไม่ใช่clinical tracer ประจำ ward
Format ของ profile ระดับPCT 1.Context • หน้าที่ • PCT ศัลย์ ประกอบด้วย Gen, Neuro, Uro, ,Trauma.. etc ซึ่งพบโรคสำคัญคือ Appendix, Head injury, นิ่ว, multiple injuryบ่อย เนื่องจาก....... และมีศักยภาพ เป็นระดับโรงเรียนแพทย์มีแพทย์พยาบาลทุกสาขา มีfacilityเช่น ICU Sx, จำนวนเตียง..... ข้อจำกัดคือ ยังทำอะไรไม่ได้ เพราะอะไร(น่าจะมีน้อยมากเมื่อเทียบกับ ร.พ. ที่เล็กกว่า)
ค. Customer need ( pt., personnel) ง. ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ ให้เน้น - Service – waiting opd, การเลื่อนการผ่าตัด - Clinic – เน้นclinical outcome เช่นผลสำเร็จในการดูแลผู้ป่วยโรคสำคัญต่างๆ ผลสำเร็จในการผ่าตัดที่เป็นหน้าเป็นตาของPCT ( ให้เกี่ยวข้องกับ ข้อ ค. และข้อ ข. ) จ. ปัญหา ความเสี่ยง จุดเน้นพัฒนา เอา Clinical risk ที่เกี่ยวกับข้อ ข. มาแสดง เช่น - ไส้ติ่ง ความเสี่ยงคือ แตก, delay Dx/Rx, PO perito - Head injury risk คือ delay Ix,Dx,Rx ผ่าผิดข้าง - etc
ฉ. ปริมาณงานและทรัพยากร ที่จะเกี่ยวข้องกับปัญหา - คน - เทคโนโลยี - เครื่องมือ (ปัญหาคนน้อย referเยอะ เครื่องมือล้าสมัย well train ลาออก ฯลฯ ควรกล่าวถึงวิธีจัดการหรือสิ่งที่ทางผู้บริหาร ช่วยบรรเทาได้นะดับหนึ่ง อย่าเขียนแต่ ลบ แล้วไม่มีแนวทางอะไรเลย )
2. Key process กระบวนการสำคัญ(เป็นการสรุป บริบท มาเป็นตาราง) คล้าย tracer
3.1 performanceindicator ผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบ Urinary tract calculi Ovarian cyst Diverticulitis Ileitis 47 48 1/49 2/49 3/49 4/49 5/49 6/49 162 133 9 9 8 7 12 7 จำนวนผู้ป่วย % ผลพยาธิวิทยาที่ไม่สนับ สนุนการวินิจฉัยทางคลินิก 12% 2% 0% 20% 0% 0% 0% 0% ระยะเวลาตั้งแต่ admit จนถึงผ่าตัด (ชม:นาที) 5:51 4:30 2:50 6:27 6:18 6:33 4:34 8:47 จำนวนผู้ป่วยที่ผ่าตัดหลัง admit เกิน 6 ชั่วโมง 0 1 1 1 3 3 0% 0.7% 0% 0% 0% 0% 0% 14% อัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัด เสนอให้ใช้ US มาช่วยในการ investigation เพิ่มเติม
3.2 Monitoring indicators ต่างๆ(แสดงความเชื่อมโยงกับศูนย์คุณภาพ)Response2-50.doc PCT Surgery • Unplanned re-operation in same visit • Delay detection of multiple injury • Post-op CVS failure • N.I. ( VAP, UTI, SSI, Wound separation sepsis) • ความผิดพลาดในการ ให้เลือด, ให้ยา และ high alert drug Patient safety indicator6-50.doc PSI & SS goal 6-50.doc
4.กระบวนการทำงาน หรือระบบงานคุณภาพ
เอกสาร: ทำให้น้อยที่สุด All-in-One Disease Mapping Clinical Tracer Risk Prevention Guide CPGs CareMaps CQIs Forms Indicators
5.แผนการพัฒนาต่อเนื่อง5.แผนการพัฒนาต่อเนื่อง พยายามให้ รายงานบอกสิ่งเหล่านี้ และ future plan ก็ควรให้ include 6-7 ประเด็นนี้ • สามารถแสดงให้เห็นการบรรลุเป้าประสงค์ขององค์กร • สามารถแสดงให้เห็นผลลัพธ์ที่ดีขึ้น โดยเฉพาะ clinical outcome • มีการประเมินประสิทธิภาพของระบบหลักๆ • มีการใช้นวตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ • มีวัฒนธรรมคุณภาพ ความปลอดภัย การเรียนรู้ • มีบูรณาการของการพัฒนา • มีการพัฒนาที่สามารถใช้เป็นแบบอย่างให้แก่โรงพยาบาลอื่น
1. การแสดงให้เห็นการบรรลุเป้าประสงค์ขององค์กร • ความสอดคล้องของเป้าประสงค์ แผนงาน และปัญหาหรือความท้าทาย • การกำหนดตัวชี้วัดที่เหมาะสม • การติดตามตัวชี้วัดและการวิเคราะห์เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ • การตอบสนองต่อผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยทีมนำ
2. การแสดงให้เห็นผลลัพธ์ทางด้านคลินิกที่ดีขึ้น • เลือกโรคสำคัญมาได้ครอบคลุม • วิเคราะห์ประเด็นสำคัญและมิติคุณภาพที่สำคัญของโรคได้อย่างเหมาะสม • มีการจัดการกับความเสี่ยงและประเด็นสำคัญได้อย่างเหมาะสม มีการรับรู้และเข้าใจในทีมงานอย่างทั่วถึง • มีการใช้กระบวนการพัฒนาคุณภาพและการเรียนรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคนั้นๆ อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรียนรู้จากการทบทวนเวชระเบียน • มีการวัดผลที่เหมาะสมทั้งด้าน process & outcome นำเสนอโดย control chart • ผู้รับบริการและผู้เยี่ยมสำรวจสามารถสัมผัสถึงคุณภาพที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยได้จริง
3. การใช้นวตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ • การสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมเพื่อสนับสนุนการใช้ นวตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ • การฝึกอบรมให้ทีมงานรู้จักใช้ความคิดสร้างสรรค์ • การใช้เครื่องมือง่ายๆ เช่น HFE • การมีแรงจูงใจ/การเปิดโอกาสให้ทดลอง • การใช้ขยายผลของนวตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ • การค้นหาโอกาสด้วยการตรวจสอบจากแหล่งข้อมูลต่างๆ • โรงพยาบาลอื่น • การเรียนรู้จากผู้ป่วย • การค้นหาจาก internet, การประชุมวิชาการ • การประเมินผลความสอดคล้องกับความต้องการ/ความเสี่ยง
4. วัฒนธรรมการเรียนรู้ 1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ความรู้จากการปฏิบัติ) 2. วิเคราะห์แปลความหมายทำความเข้าใจข้อมูลที่มีอยู่ 3. ทำกิจกรรมทบทวนคุณภาพเป็นวิถีชีวิตปกติประจำ 4. เรียนรู้ด้วยการตามรอยคุณภาพทางคลินิก 5. ตรวจสอบการบรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน/ทีมงาน/โรงพยาบาล 6. ประเมินระบบงานในภาพใหญ่ของทั้งโรงพยาบาล 7. ตรวจสอบระดับการนำมาตรฐานโรงพยาบาลมาสู่การปฏิบัติโดยใช้ scoring guideline
7. มีการพัฒนาที่สามารถใช้เป็นแบบอย่างให้แก่โรงพยาบาลอื่น • วิธีการทำงาน • วิธีการรักษา • การสร้างเสริมสุขภาพทั่วไป-การป้องกันโรค • การส่งเสริมการดูแลตนเองในชุมชน- การดูแลกันเองในชุมชน • การชี้นำสังคม
จตุคำ รุ่น “มีกูไว้ ไม่โดนre-survey” • ทีม มีความเชื่อมโยงของ ศูนย์<-->PCT<-->Unit • วัฒนธรรม การเรียนรู้ / เปิดใจ / ทบทวน ฝังในงานประจำ • กิจกรรมคุณภาพ ; 12 กิจกรรมทบทวน / นวตกรรม พัฒนาต่อเนื่อง • ผลลัพธ์ ที่ดีขึ้น โดยเฉพาะคลินิก / เป็นแบบอย่าง