1 / 23

ปัจจัยที่ทำให้ผู้ชายมีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิง

ปัจจัยที่ทำให้ผู้ชายมีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิง. หลักการและเหตุผล.

meriel
Download Presentation

ปัจจัยที่ทำให้ผู้ชายมีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ปัจจัยที่ทำให้ผู้ชายมีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิงปัจจัยที่ทำให้ผู้ชายมีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิง

  2. หลักการและเหตุผล • ในอดีตสังคมไทยไม่ค่อยยอมรับผู้ชายที่มีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิงเพราะเคยชินกับ 2 เพศที่มีภาระหน้าที่ต่างกันเด่นชัด แต่ปัจจุบันสังคมเริ่มเข้าใจและยอมรับบุคคลเหล่านี้ ทำให้บุคคลเหล่านี้กล้าที่จะแสดงออกต่อสาธารณชนมากขึ้น แต่สังคมก็ยอมรับบุคคลเหล่านี้เพียงระดับหนึ่ง คือ ยังไม่สนับสนุนให้ลูกหลานผู้ชายมีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิง ดังนั้นจึงควรศึกษาปัจจัยต่างๆที่ทำให้เพศชายมีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิง เพื่อนำไปเป็นแนวทางในการเลี้ยงดูบุตรหลานต่อไป

  3. คำจำกัดความ • ผู้ชายที่มีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิง • TRANSVETISM • HOMOSEXUALS • TRANSSEXUALS • การเลี้ยงดู

  4. ทบทวนวรรณกรรม • อัมพร โอตระกูล เรื่องสุขภาพจิต • กุศล สุนทรธาดา เรื่องสถานการณ์และองค์ความรู้เกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูเด็กในประเทศไทย • โครงการสัมมนาเรื่อง "ดูแลจิตใจคนในครอบครัว" ปี 2541-2542 (เลี้ยงลูกให้ถูกเพศ โดย ศาสตราจารย์แพทย์หญิงอุมาพร ตรังคสมบัต

  5. ทบทวนวรรณกรรม • Richard Green และ E.B. Keverne เรื่อง The Disparate Matermal Aunt - Uncle Ratio in Male Transsexuals : An Explanation Invoking Genomic Imprinting จาก Journal of Theoretical Biology (published electronicallyJanuary 5 ,2000 ) • http://ww.ousu.org/welfare/wd/wd4.html • มานพ คณะโต เรื่อง "พฤติกรรมทางเพศ

  6. วัตถุประสงค์ • เพื่อทราบถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลทำให้เพศชายมีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิง • เพื่อทราบถึงการยอมรับของครอบครัวและสังคมต่อเพศชายที่มีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิง • เพื่อทราบถึงวิถีชีวิต การดำเนินชีวิต และการวางแผนชีวิตในอนาคตของเพศชายที่มีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิง

  7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ • ทราบถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลทำให้เพศชายมีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิง • เป็นแนวทางในการอบรมเลี้ยงดูบุตรหลานต่อไปของพ่อแม่ผู้ปกครอง

  8. ชนิดของการวิจัย • QUALITATIVE STUDY • INDEPTH INTERVIEW • INDEPTH INTERVIEW FORM เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

  9. รูปแบบการวิจัย • TARGET POPULATION คือ นิสิตชายในมหาวิท ยาลัยนเรศวร ที่มีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิง โดยทำการศึกษาในช่วง วันที่ 21 - 25 สิงหาคม 2543 • SAMPLING TECHNIQUEคือ PURPOSIVE SAMPLING นิสิตชายที่มีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิงใน มหาวิทยาลัยนเรศวร

  10. สมมติฐาน • ปัจจัยที่มีอิทธิพลทำให้เพศชายมีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิง ได้แก่ การเลี้ยงดู และ สภาพแวดล้อม • ในปัจจุบัน ครอบครัวและสังคมมีการยอมรับเพศชายที่มีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิงมากขึ้น • การวิเคราะห์เชิงพรรณนา การวิเคราะห์ข้อมูล

  11. สภาพครอบครัว • การมีพี่สาวหรือน้องสาว (ไม่เป็นปัจจัย) • การที่สนิทสนมกับแม่มาก • การที่ไม่ได้มีความใกล้ชิดสนิทสนมกับพ่อ • พ่อแม่ละเลยพฤติกรรมเล็กๆน้อยๆของลูกที่แสดงออกคล้ายเพศหญิง • พ่อแม่เลี้ยงลูกแบบทะนุถนอมเกินไป • การที่จับลูกแต่งตัวเป็นผู้หญิง หรือ ให้ลูกแสดงบนเวทีบ่อยๆ ผลการวิจัย

  12. ช่วงชีวิตในวัยรุ่น • พบเพื่อนที่เป็นเหมือนกัน ทำให้กล้าที่จะแสดงออกมากขึ้น • มีการเริ่มชอบผู้ชายในทางชู้สาว อยากมีคู่รัก และมีเพศสัมพันธ์ มีการใช้ฮอร์โมน และคิดอยากแปลงเพศ • การชอบเพศชายเพื่อมองหาเอกลักษณ์ของตนเอง • ช่วงชีวิตในวัยเด็ก • เรียบร้อย และ เล่นกับเด็กผู้หญิง • ในช่วงนี้ไม่สามารถที่จะแก้ไขได้แล้ว • เด็กที่กล้าแสดงออกในพฤติกรรมที่ตนเองชอบ

  13. สภาพแวดล้อม • มีญาติเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชายมาก ทำให้ต้องร่วมกิจกรรมแบบผู้หญิงมากจนเกิดเป็นความเคยชิน และทำให้ขาดแบบอย่างของเพศชาย หรืเพศชายที่เป็นแบบอย่างมีพฤติกรรมบางอย่างที่ทำให้เด็กขาดความศรัทธา • แหล่งสื่อต่างๆ ไม่มีผลในการทำให้เด็กชายปกติมีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิงหรือเลียนแบบกะเทยที่แสดงออกในสื่อต่างๆได้

  14. ผลการวิจัย • การยอมรับผู้ชายที่มีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิงของครอบครัวและสังคม • ครอบครัวยอมรับได้ในระดับหนึ่ง , ครอบครัวไม่ยอมรับ • สังคมเมืองให้การยอมรับมากกว่าสังคมชนบท • การวางแผนชีวิตในอนาคตของผู้ชายที่มีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิง • กลับมาเป็นชายปกติไม่ได้ • ในเด็กวัยรุ่นก็จะยังเพ้อฝันในเรื่องความรัก • ยอมรับว่าคนที่มาเป็นคู่รักนั้นไม่ได้มีความจริงใจกับตน ชีวิตคู่หรือการมีครอบครัวเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ มุ่งที่จะทำงานให้ประสบความสำเร็จ

  15. Transvesite Transexual Homosexual

  16. วิจารณ์ • ไม่สามารถนำกลุ่มผู้ชายที่มีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิงที่ไม่ยอมรับตนเอง หรือปกปิดมาศึกษาได้ ทำให้ไม่ทราบปัจจัยที่เป็นสาเหตุและปัจจัยอื่นๆที่มีผลต่อการยอมรับตนเอง • การสัมภาษณ์ต้องใช้คำถามที่ลึกซึ้งเพื่อให้ได้ข้อมูลมากที่สุด ทำให้ผู้ถูกสัมภาษณ์อาจตอบไม่ตรงความเป็นจริง • ไม่ได้มีการสัมภาษณ์คนในครอบครัวของผู้ชายที่มีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิง ทำให้ได้รับข้อมูลเพียงด้านเดียว

  17. วิจารณ์ • การแบ่งประเภทผู้ชายที่มีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิงตามทฤษฎี ไม่สามารถนำมาใช้ได้จริงในทางปฏิบัติ • ไม่ได้มีการศึกษาถึงระดับ Gene ทำให้ไม่สามารถสรุปได้ว่าบุคคลที่มีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิงมีความผิดปกติเกี่ยวกับ Gene หรือไม่

  18. ข้อเสนอแนะ • พ่อ-แม่, พ่อ-ลูก, แม่-ลูก ต้องมีความสัมพันธ์อย่างเหมาะสม • พ่อแม่ควรจะพูดคุยกับลูกให้ชัดเจน • อย่าเสริมแรงเมื่อลูกแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่น หัวเราะชอบใจ • ชมเชยลูกเมื่อมีพฤติกรรมที่เหมาะสม

  19. ข้อเสนอแนะ • สร้างทักษะที่เหมาะสมกับเพศ • การเสริมสร้างประสบการณ์ • พ่อแม่ควรหาของใช้สำหรับเด็กให้เหมาะสมกับเพศ เช่น เสื้อผ้า • โรงเรียนควรจัดกิจกรรมที่เอื้ออำนวยให้เด็กได้พัฒนาไปในทางที่ถูกต้อง เช่น กิจกรรมกีฬา

  20. ข้อเสนอแนะ • บิดามารดาที่บุตรชายมีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิง ควรทำความเข้าใจ ยอมรับ และควรคิดว่าทำอย่างไรให้ลูกดำรงชีวิตอย่างมีความสุข รู้จักปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมและกลุ่มเพื่อน รู้สึกว่าเขามีคุณค่า มีคนรักและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เพราะบุคคลเหล่านี้มักไม่สามารถกลับมามีพฤติกรรมเป็นเพศชายปกติได้

  21. THE END

  22. THE END

  23. คำให้สัมภาษณ์ ของ ผศ.นาวาโทวัฒนชัย หมั่นยิ่ง • การแบ่งประเภทของผู้ชายที่มีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิง • การยอมรับผู้ชายที่มีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิง • ความคิดเห็นต่างๆ , การดำเนินชีวิตและการวางแผนในชีวิตอนาคตของผู้ชายที่มีพฤติกรรมคล้ายเพศหญิง

More Related