630 likes | 1.03k Views
ปฐมนิเทศ สัมมนาคอมพิวเตอร์ ( 233411 ). อาจารย์ จรูญ จันทวี ( อาจารย์ แจ๊ค ) Email :jack242010@windowslive.com Website : http://ajackckc.zxq.net. Course Outline. Course Outline. Course Outline. ระยะเวลาการเรียนการสอน. 1. 15 ครั้ง 2. สอบกลางภาค 3. สอบปลายภาค. เวลาเรียน. วันเสาร์
E N D
ปฐมนิเทศสัมมนาคอมพิวเตอร์(233411)ปฐมนิเทศสัมมนาคอมพิวเตอร์(233411) อาจารย์ จรูญ จันทวี (อาจารย์ แจ๊ค) Email :jack242010@windowslive.com Website : http://ajackckc.zxq.net
ระยะเวลาการเรียนการสอนระยะเวลาการเรียนการสอน 1. 15 ครั้ง 2. สอบกลางภาค 3. สอบปลายภาค
เวลาเรียน • วันเสาร์ • เวลา 11.50 – 14.20 น. • ห้องเรียน U302
สัดส่วนการให้คะแนน • การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 5 คะแนน • แบบฝึกหัด 15 คะแนน • สอบกลางภาค 30 คะแนน • สอบปลายภาค 50 คะแนน รวม 100 คะแนน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสัมมนาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสัมมนา
หลักการสัมมนา • ความหมาย • เป้าหมายและวัตถุประสงค์ • องค์ประกอบของการสัมมนา
ความหมาย • การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และความคิดเห็น เพื่อหาข้อสรุปในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง • ในวงการศึกษา สัมมนาเป็นวิชาที่เปิดสอนให้นักศึกษา ได้ร่วมกันศึกษาปัญหาและประชุมอภิปรายกัน • ในวงการอื่นๆ เป็นการประชุมเพื่อต้องการแสวงหา แนวทางและความคิดใหม่ๆ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ และหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน
เป้าหมายและวัตถุประสงค์เป้าหมายและวัตถุประสงค์ • ผู้เข้าร่วมสัมมนาต้องทำหน้าที่เป็นทั้งผู้ให้และผู้รับ แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ • เพื่อค้นหาวิธีการแก้ปัญหาและแนวทางปฏิบัติร่วมกัน • หัวใจของการสัมมนา คือ สมาชิกทุกคนได้มีส่วนร่วมในการความคิดเห็นและได้เสนอแนวคิดให้แก่กลุ่มเป็นสำคัญ
องค์ประกอบของการสัมมนาองค์ประกอบของการสัมมนา บุคคลและกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวกับการจัดสัมมนา โครงการสัมมนา วิธีการจัดสัมมนา เนื้อหาการสัมมนา บรรยากาศในการสัมมนา
บุคคลและกลุ่มบุคคล • ประธานและรองประธาน • เลขานุการและผู้ช่วยฯ • นายทะเบียนและคณะกรรมการฝ่ายทะเบียน • กรรมการและคณะอนุกรรมการฝ่ายเอกสาร • เหรัญญิกและผู้ช่วยเหรัญญิก • กรรมการฝ่ายสถานที่และวัสดุอุปกรณ์ • กรรมการฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม • กรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ • กรรมการฝ่ายปฏิคม • กรรมการฝ่ายพยาบาล • ฝ่ายประเมินผล กลุ่มผู้จัดสัมมนา กลุ่มวิทยากร กลุ่มผู้เข้าร่วมสัมมนา
บุคคลและกลุ่มบุคคล กลุ่มผู้จัดสัมมนา กลุ่มวิทยากร กลุ่มผู้เข้าร่วมสัมมนา ผู้มาให้ความรู้ ให้ประสบการณ์แก่ผู้เข้าร่วมสัมมนา
บุคคลและกลุ่มบุคคล กลุ่มผู้จัดสัมมนา กลุ่มวิทยากร กลุ่มผู้เข้าร่วมสัมมนา • ผู้ประสบปัญหาร่วมกัน • ผู้ต้องการแสวงหาแนวความคิดใหม่ร่วมกัน • ผู้ที่ประสงค์ที่จะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน • ผู้ที่ต้องการจะถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และหาทางแก้ปัญหาร่วมกัน
บทบาทของผู้เข้าร่วมสัมมนาบทบาทของผู้เข้าร่วมสัมมนา • พูดจาสังสรรค์กัน • แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันอย่างมีเป้าหมาย • ทำงานร่วมกันอย่างมีระเบียบ • ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน • เห็นความสำคัญของการสัมมนา • รับผิดชอบและอยู่ร่วมสัมมนาโดยตลอด • ร่วมทำกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ
โครงการสัมมนา องค์ประกอบหลักของการจัดทำแผนการสัมมนา ผู้ปฎิบัติ : บุคคลากรที่เกี่ยวข้องทั้งหมด งบประมาณ : ค่าใช้จ่าย จากไหน เท่าไร เวลา : ระยะเวลาดำเนินการ สถานที่ : ที่จัดสัมมนา
องค์ประกอบของโครงการสัมมนาองค์ประกอบของโครงการสัมมนา ชื่อโครงการ : การตั้งชื่อควรสอดคล้องกับการสัมมนา หลักการและเหตุผลที่ต้องมีการสัมมนา วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย วิทยากร ระยะเวลา สถานที่ วิธีการสัมมนา
วิธีการสัมมนา • การบรรยาย (Lecture of speech) • นำเสนอเรื่องราวปากเปล่า เป็นวิธีการที่รวดเร็วในการเสนอเรื่อง มีลำดับขั้นตอน • การอภิปรายทั่วไป (Forum) • ไม่มีระเบียบกฎเกณฑ์เคร่งครัด เสนอเรื่อง ซักถามและตอบ • การอภิปรายแบบกลุ่มย่อย(Group discussion) • มีการแบ่งกลุ่มย่อย อภิปราย ตามความสนใจในหัวข้อย่อย • หาลู่ทางตกลงกันเพื่อเป็นมติของกลุ่ม
วิธีการสัมมนา (ต่อ) • การปฏิบัติการ (workshop) • เน้นการลงมือทำ มีส่วนร่วมมากขึ้น • จัดในกลุ่มที่มี background และความสนใจร่วมกัน ทำงานเป็นกลุ่มเล็กๆ ภายใต้การแนะนำของที่ปรึกษาหรือผู้รู้ • การสังเกตการณ์(observation) • การสาธิต(Demonstration) • การปฏิบัติการให้เห็นกระบวนการหรือขั้นตอนการปฏิบัติ • ข้อดี ทำให้เห็นกระบวนการจริง เกิดความรับรู้ได้รวดเร็ว • ข้อเสีย เหมาะเฉพาะกับกลุ่มขนาดเล็กๆ เท่านั้น
วิธีการสัมมนา (ต่อ) • การพบปะสนทนา (session) • การพบคุยปรึกษา พูดคุยอย่างเสรีในเรื่องนั้นๆ • การศึกษานอกสถานที่/ดูงาน • การระดมความคิด (Brainstorming) • ผู้เข้าร่วมแสดงความคิดเห็นอย่างเสรี • การฉายภาพยนตร์ VDO Slide • การทำกลุ่มสัมพันธ์ เช่น หาปัญหามาให้แก้ไขร่วมกัน
องค์ประกอบของโครงการสัมมนา(ต่อ)องค์ประกอบของโครงการสัมมนา(ต่อ) กำหนดการสัมมนา • แสดงรายละเอียดในเรื่องเวลาและเรื่องที่จะสัมมนา งบประมาณที่ใช้ : เท่าใด ใครรับผิดชอบ รายละเอียดงบ ประเมินผล : ทำภายหลังการจัดสัมมนาแล้ว • เพื่อทราบสภาพปัญหา ประสิทธิผลและการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ในครั้งต่อไป • แบ่งได้ 4 ส่วน คือ ตัวโครงการ, สภาพความพร้อม, การดำเนินโครงการ และสภาพเมื่อสิ้นสุดโครงการ
องค์ประกอบของโครงการสัมมนา(ต่อ)องค์ประกอบของโครงการสัมมนา(ต่อ) ประเมินผล (ต่อ) • ลักษณะการประเมินผล มี 2 ลักษณะ คือ • ประเมินผลย่อย แต่ละส่วนในแต่ละโครงการ • ประเมินผลรวม ทั้งโครงการ • วิธีการประเมินผล • สังเกต แบบสอบถาม การบันทึก จัดตั้งกลุ่มประเมิน • จัดตั้งวัตถุประสงค์ร่วมกัน ประเมินตนเองในขณะทำงาน
องค์ประกอบของโครงการสัมมนา(ต่อ)องค์ประกอบของโครงการสัมมนา(ต่อ) ผู้จัดสัมมนา : คณะกรรมการฝ่ายต่างๆ ผู้รับผิดชอบโครงการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เนื้อหาการสัมมนา • ครอบคลุมวัตถุประสงค์ของการสัมมนา • ได้เนื้อหาสาระต่างๆ ที่ทำให้ผู้เข้าร่วมมีความรู้ ความเข้าใจและหาทางออกหรือข้อสรุปได้
บรรยากาศในการสัมมนา • ผู้เข้าร่วมมีโอกาสพูดจาสังสรรค์กัน • ได้ร่วมกิจกรรมอย่างมีระเบียบ • ได้มีโอกาสใช้ความคิดในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน • ยอมรับซึ่งกันและกัน • แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อเท็จจริงร่วมกัน • มีทัศนคติที่ดีต่อปัญหา ข้อเท็จจริงและความคิดเห็นของผู้อื่น
ทำไมจึงต้องจัดสัมมนา : • มีปัญหาต้องแก้ไขร่วมกัน เปลี่ยนพฤติกรรมส่วนตัว ให้สอดคล้องแผนการจัดโครงการสอน พุทธศาสนา. • มีการเปลี่ยนแปลงการปฎิบัติจากปัจจุบัน กำหนดให้ ร่วมกันแสดงความคิดเห็น,วางแผนการสอน และการ เสริมความรู้ทางพุทธศาสนา. • มีการสั่งการ ให้ปรับปรุงพัฒนาโรงเรียน,จัดทำโครงการ สหกรณ์ เพื่อชี้แจงโครงการพัฒนาวิชาการและคุณภาพชีวิต
ทำไมจึงต้องจัดสัมมนา : • ประสงค์ให้มีการแลกเปลี่ยนทัศนคติ, ความคิดเห็น • เสริมสร้างความเข้าใจในปณิธานของมูลนิธิฯ • จะเป็นหนทางให้เกิดความพร้อมเพรียงในทางปฏิบัติ • เชื่อว่าหลายความคิด ดีกว่า ความคิดเดียว • เห็นว่าผู้เข้าสัมนาเป็นผู้มีคุณค่า ในการพัฒนาองค์กร
สาเหตุที่ไม่ยอมรับ และการชี้นำ : • ความเบื่อหน่ายต่อความจำเจ ซ้ำซากไม่มีอะไรใหม่ • ท้อแท้ต่อระบบการทำงาน ไม่เชื่อมั่น ผู้บริหาร • ไม่เข้าใจนโยบาย ไม่ศรัทธาปณิธานของมูลนิธิ • ชี้นำแผนพัฒนาปรับปรุง และความหวังดีจากคณะกรรมการอำนวยการ • คาดว่าการสัมมนาจะไม่ทำให้ดีขึ้น หรือได้ประโยชน์ • ชี้ให้เห็น ผลได้ ผลเสีย สร้างความเชื่อถือศรัทธา...
สาเหตุที่ไม่ยอมรับ และการชี้นำ : • ท้อแท้ต่อระบบการทำงาน, ไม่ยอมรับกฎระเบียบ • จะไม่ได้มีส่วนร่วมในโครงการ, ผู้บริหารไม่จริงใจ • ไม่มั่นใจในการรับความรู้ใหม่, ไม่สนใจจะศึกษา • ไม่มีสิ่งเร้า กระตุ้น ขาดขวัญกำลังใจ • ชี้แจงการให้สิทธิ์ เสรีภาพ ความเสมอภาพ พื้นฐาน...
สาเหตุที่ไม่ยอมรับ และการชี้นำ : • จะทำให้เสียการหารายได้, ต้องการอามิส สินจ้าง รางวัลตอบแทน • เกียจคร้าน ไม่สนใจความเป็นอยู่ และสิ่งแวดล้อม • ให้นึกถึง ความดี - ความชั่ว บาป - บุญ ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ ความสมัครสมานสามัดคี... ที่จะทำให้มีความสุขในการทำงานในอนาคต.
วิเคราะห์กลุ่มผู้เข้าสัมมนา : • ต้องการมาฟังความคิดเห็น,ร่วมในการตัดสินใจ • ต้องการพัฒนาสื่อการสอน, อุปกรณ์ช่วยการสอน • อยากพัฒนาความรู้ใหม่ และการทำงานร่วมกัน • มาตามคำสั่ง เพราะมีหน้าที่ๆ กลัวถูกตำหนิ • สนใจมากในเรื่องการปรับเงินเดือน, เงินได้พิเศษ • มีทัศนคติไม่มั่นใจผู้บริหาร และเรื่องที่จะมีการ เปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบกับตนในอนาคต.....
ประโยชน์ของการสัมมนา 1. ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้รับความรู้ 2. เกิดความคิดสร้างสรรค์ 3. เกิดความกระตือรือร้น กล้าคิด กล้าทำ กล้าตัดสินใจ มีความรับผิดชอบ รู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รู้จักดุลยพินิจ วิเคราะห์ปัญหา สามารถแก้ปัญหา เกิดภาวะผู้นำ
ประโยชน์ของการสัมมนา 4. ผู้สัมมนาหรือผู้เรียนสามารถจัดงานสัมมนาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5. เป็นการพัฒนาผู้ปฏิบัติงานให้พร้อมอยู่เสมอ 6. สร้างความเข้าใจอันดีต่อเพื่อนร่วมงาน มีมนุษย์สัมพันธ์
กระบวนการสัมมนา (Process) กำหนดปัญหา สำรวจปัญหา ปรึกษาหารือ ในการแก้ปัญหา สรุป แลกเปลี่ยนผลการค้นคว้า
" การจัดทำหลักสูตรสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นจังหวัดสุราษฎร์ธานี"
“การอบรมสัมมนาครูและผู้ที่เกี่ยวข้องการจัดการเรียนรู้”“การอบรมสัมมนาครูและผู้ที่เกี่ยวข้องการจัดการเรียนรู้”
“การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ด้านการศึกษาเพื่อท้องถิ่น”
กระบวนการจัดสัมมนา ขั้นการวางแผนและดำเนินการสัมมนา 1. จัดตั้งคณะกรรมการดำเนินการสัมมนาหรือกรรมการกลางเพื่อจัดสัมมนา (Steering Committee) 2. ประชุมคณะกรรมการ เพื่อเตรียมงาน 2.1 Them 2.4 พิจารณาแนวทางประชาสัมพันธ์ 2.2 พิจารณาบุคคล 2.5 เสนอการแต่งตั้งกรรมการ 2.3 พิจารณาแผนการดำเนินการ 2.6 พิจารณาปัญหาอื่นๆ
ลงทะเบียน ประชุมใหญ่ รับฟังคำชี้แจงวัตถุประสงค์ วิธีการแนวทางสัมมนา ฟังวิทยากร แบ่งกลุ่มย่อย ข้อตกลงอื่นๆ กระบวนการจัดสัมมนา พิธีเปิด
ประชุมกลุ่มย่อย พิธีปิด กระบวนการสัมมนา ประชุมรวม
สมาชิก ประเมินผล ผลสำเร็จการสัมมนา ผู้เข้าร่วม รายงานผล
คุณลักษณะต่างๆ ของการสัมมนาที่ดี 1. สมาชิกทุกคนทราบวัตถุประสงค์ของการประชุมหรือจัดสัมมนา 2. จัดให้มีประสบการณ์ในการแก้ปัญหาและเรียนรู้ร่วมกัน 3. มีการแลกเปลี่ยนความคิดและข้อเท็จจริงระหว่างสมาชิกในทางสร้างสรรค์ 4. สมาชิกมีเจตคติที่ดีต่อปัญหา ข้อเท็จจริง หมู่สมาชิกและตนเอง 5. สมาชิกต้องใช้ความคิดในการแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ 6. สมาชิกที่เกี่ยวข้องกับการสัมมนาทราบและปฏิบัติตามระเบียบขบวนการของการจัดสัมมนาอย่างดียิ่ง 7. สมาชิกทุกคนมีส่วนเข้าร่วมการแสดงความคิดเห็นเสนอข้อเสนอแนะ และได้รับผลกระทบโดยตรงจากการสัมมนา
บุคลิกภาพของผู้เข้าร่วมสัมมนาที่ไม่พึงประสงค์บุคลิกภาพของผู้เข้าร่วมสัมมนาที่ไม่พึงประสงค์ • พูดคนเดียว ผูกขาดการเสนอความคิด • พูดวกวน ทำให้เข้าใจยาก เสียเวลาการประชุม • พูดจาไม่สุภาพ ทำให้ไม่อยากฟัง • ใช้ภาษาไม่ถูกต้อง ทำให้เข้าใจไขว้เขว • ทำทีอวดเก่ง ทำให้เสียความรู้สึกเกิดการต่อต้าน ไม่ยอมรับความคิดเห็น • ใช้อารมณ์ ทำให้เสียบรรยากาศความเป็นมิตร • ชอบฟังอย่างเดียว ทำให้รู้สึกว่าไม่เผื่อแผ่ความคิด ไม่ร่วมมือ • รับแจกเอกสารอย่างเดียว ทำให้รู้สึกว่าจะมาเอาจากคนอื่นเท่านั้น • นั่งซึมเซา ทำให้เสียบรรยากาศของการ แลกเปลี่ยนความรู้ • พฤติกรรมซ่อนเร้น ทำให้เกิดความระแวง ขาด บรรยากาศที่เปิดเผย
ชอบคุย • ก่อความยุ่งยาก • เจ้าหลักการ • ชอบสรุปเรื่องคนอื่นๆ แต่ตนเองไม่มีข้อเสนอแนะ • ครอบงำความคิดของผู้อื่น • ชอบยกข้ออ้างของอาจารย์หรือปรมาจารย์
บุคคลของผู้เข้าร่วมสัมมนาที่พึงประสงค์บุคคลของผู้เข้าร่วมสัมมนาที่พึงประสงค์ • ฟังเมื่อคนอื่นพูด รับข้อคิดเห็นเข้าไปพิจารณา • ฟังอย่างใจเป็นกลาง เพื่อไม่ให้มีอคติต่อสิ่งที่รับรู้ • พูดเมื่อต้องพูด เสนอความคิดเห็นโดยไม่กลัวคนอื่นจะค้าน
พูดอย่างมีหลักวิชาการ สร้างความเชื่อถือและเป็นประโยชน์แก่องค์ความรู้ที่จะได้ใหม่ • บันทึกความรู้ บันทึกความรู้จากคนอื่นๆ เพื่อป้องกันการลืม สามารถอ้างอิงเมื่อต้องการ • กล่าวถึง หรือยกขึ้นมา • ประกอบการนำเสนอความคิด • สรุปความรู้ ช่วยให้ประมวลความคิดให้เป็นระเบียบ สะดวกสำหรับการตรวจสอบความรู้
ตรวจสอบตนเอง ก่อนนำเสนอความรู้แต่ละครั้งควรได้ตรวจสอบตนเองก่อน เพื่อให้การนำเสนอมีประสิทธิภาพ • นำเสนอความรู้ ควรนำเสนอแบ่งปันความรู้กับคนอื่น • ชั่งใจตัดสิน รู้จักชั่งใจตัดสินในสิ่งที่รับรู้ • สรุปความรู้ขั้นสุดท้าย ประมวลความรู้ครั้งสุดท้ายสำรวจเพื่อการศึกษาในอนาคต ไม่ควรจบตามการประชุม
การประเมินผลการสัมมนาการประเมินผลการสัมมนา • เป็นกิจกรรมที่ดำเนินการภายหลังการสัมมนาทั้งนี้เป็นการหาข้อมูลว่าการดำเนินการไปแล้วันั้นได้รับผลสำเร็จเพียงใด ดังนั้นวัตถุประสงค์ของการประเมินผลการสัมมนาจึงควรมีดังต่อไปนี้ • 1. เพื่อต้องการทราบสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น • 2. เพื่อต้องการทราบประสิทธิผลของการดำเนินงาน • 3. เพื่อต้องการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ สำหรับการจัดสัมมนาครั้งต่อไป
ในการประเมินผลสัมมนาจะประเมินอะไรในการประเมินผลสัมมนาจะประเมินอะไร 1. ตัวโครงการ 2. สภาพความพร้อม 3. การดำเนินโครงการ 4. สภาพเมื่อสิ้นสุดโครงการ