830 likes | 2.17k Views
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย. Biology (40242). บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย. 6.1 ระบบหายใจกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย 6.1.1โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ 6.1.2 โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
E N D
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย Biology (40242)
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย • 6.1 ระบบหายใจกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย • 6.1.1โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ • 6.1.2 โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน • 6.2 ระบบขับถ่ายกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย • 6.2.1 การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว • 6.2.2 การขับถ่ายของสัตว์ • 6.2.3 การขับถ่ายของคน • 6.3 ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบน้ำเหลืองกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย • 6.3.1 การลำเลียงสารในร่างกายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ • 6.3.2 การลำเลียงสารในร่างกายของคน • 6.3.3 ระบบน้ำเหลือง
การขับถ่ายของคน • การขับถ่ายของคน • ไตกับการรักษาสมดุลของน้ำและสารต่าง ๆ • การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ • ความผิดปกติที่เกี่ยวเนื่องกับไตและโรคของไต • ผิวหนังกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
อวัยวะในการใช้ขับถ่ายของเราอวัยวะในการใช้ขับถ่ายของเรา
ระบบปัสสาวะ • ไต (Kidney) เป็นอวัยวะหลักในการขับถ่าย • ไตแต่ละข้างประกอบด้วยหน่วยเล็กๆ ที่ทำหน้าที่ ในการกรองนับล้านหน่วยเรียกว่า หน่วยไต (Nephron) • ไตเป็นตัวกรองเลือด เพื่อกำจัดยูเรีย (Urea) เกลือส่วนเกิน และน้ำ ทั้งหมดนี้รวมกันเป็นของเหลว เรียกว่า น้ำปัสสาวะ (Urine) • ซึ่งไหลไปตามท่อ 2 ท่อ เรียกว่า ท่อไต (Ureter) • ไปยังกระเพาะปัสสาวะ (Bladder) กระเพาะจะว่างเมื่อเราถ่ายปัสสาวะออก • ไตควบคุมน้ำในร่างกาย เราดื่มน้ำมากเท่าไร น้ำปัสสาวะ ก็จะถูกสร้างมากขึ้นเท่านั้น
The Human Urinary System • The urinary system is made-up of the kidneys, ureters, bladder, and urethra. • The nephron, an evolutionary modification of the nephridium, is the kidney's functional unit. • Waste is filtered from the blood and collected as urine in each kidney. • Urine leaves the kidneys by ureters , • and collects in the bladder. • The bladder can distend to store urine that eventually leaves through the urethra.
The Human Urinary System http://www.webmd.com/hw/health_guide_atoz/tp12568.asp http://www.a-zmedical.com/whatis.html
Kidney ไต (kidney) เป็นอวัยวะขับถ่ายของมนุษย์ประกอบด้วย • 1. Cortexเนื้อชั้นนอกสุดมีเลือดผ่าน 90-95 % จึงเป็นจุดสีแดง • 2. Medulla เนื้อไตชั้นใน ประกอบด้วยท่อไตและมีเส้นเลือดอยู่ • 3. กรวยไต (Pelvis) ต่อกับท่อไต เป็นส่วนปลายของเมดัลลายื่นเข้าไปจรดกับส่วนที่เป็นโพรง ไตแต่ละข้างประกอบด้วย หน่วยไต (nephron) ประมาณ 1 ล้านหน่วย ลักษณะเป็นท่อยาวๆ คดเคี้ยว
Structure of Kidney http://school.obec.go.th/samoengpit/elearning/bio01/bio2.html
Kidney http://www.anselm.edu/homepage/jpitocch/genbio/excretorynot.html
Nephron • หน่วยไต (nephron) มีลักษณะเป็นท่อ • ปลายข้างหนึ่งรูปถ้วย เรียกว่า Bowman’s capsule • ล้อมรอบกลุ่มหลอดเลือดฝอย เรียกว่า glomerulus • ท่อของหน่วยไต ประกอบด้วย • 1. ท่อขดส่วนต้น (proximal convolutedtubule) • 2. ห่วงเฮนเล (loop of Henle) • 3. ท่อขดส่วนปลาย (distal convoluted tubule) • ปลายของท่อจะเปิดออกที่ ท่อรวม (collecting duct) ออกสู่กรวยไต
เนื้อไตในส่วนของ medulla ประกอบด้วย renal pyramid ประมาณข้างละ 8-18 อัน มาเปิดเข้าสู่ renal pelvis อันเป็นแหล่งรวบรวมนำปัสสาวะก่อนส่งผ่านท่อปัสสาวะ (ureter) ไปยังกระเพาะปัสสาวะ (urinary bladder) การทำงานของไตเป็นผลเนื่องมาจากการทำงานของหน่วยย่อยของไต ที่เรียกว่าnephron ไตแต่ละข้างประกอบด้วย nephron ประมาณ 1 ล้านอัน
The Nephron • The nephron consists of a cup-shaped capsule containing capillaries and the glomerulus, and a long renal tube. • Blood flows into the kidney through the renal artery, which branches into capillaries associated with the glomerulus. • Arterial pressure causes water and solutes from the blood to filter into the capsule. • Fluid flows through the proximal tubule, which include the loop of Henle, and then into the distal tubule. • The distal tubule empties into a collecting duct. • Fluids and solutes are returned to the capillaries that surround the nephron tubule.
Components of The Nephron • Glomerulus : mechanically filters blood • Bowman's Capsule : mechanically filters blood • Proximal Convoluted Tubule : Reabsorbs 75% of the water, salts, glucose, and amino acids • Loop of Henle : Countercurrent exchange, which maintains the concentration gradient • Distal Convoluted Tubule : Tubular secretion of H ions, potassium, and certain drugs.
Nephron http://www.anselm.edu/homepage/jpitocch/genbio/excretorynot.html
http://school.obec.go.th/samoengpit/elearning/bio01/bio3.htmlhttp://school.obec.go.th/samoengpit/elearning/bio01/bio3.html
http://www.besthealth.com/besthealth/bodyguide/reftext/html/urin_sys_fin.htmlhttp://www.besthealth.com/besthealth/bodyguide/reftext/html/urin_sys_fin.html
เส้นเลือดที่ไต • เส้นเลือดที่ไต ประกอบด้วยเส้นเลือดต่างๆหลายเส้น คือ • - renal artery เป็นเส้นเลือดแดงที่นำเลือดเข้าสู่ไต บริเวณรอยบุ๋มตอนกลางไต • - ต่อจากรีนัลอาร์เทอรีจะมีเส้นเลือดแตกแขนงออกแทรกเข้าไปในเนื้อไตส่วนใน เรียกว่า interlobar artery • - จากอาร์เทอรี เส้นนี้จะมีเส้นเลือดทอดโค้งอยู่ระหว่างเนื้อไตส่วนนอกและเนื้อไตส่วนในเรียกว่า arcute artery • - ต่อจากนั้น มีเส้นเลือดแตกแขนงจากอาร์คิวเอตอาร์เทอรี ในแนวตั้งฉาก เรียกว่า afferent arteriole และเรียกว่า โกลเมอรูลัส ตามลำดับ • - จากโกลเมอรูลัส จะมีการรวมกันของเส้นเลือดฝอยเป็นเส้นเลือดที่ออกจากโบว์แมนแคปซูล เรียกว่า efferent arteriole • - เอฟเฟอเรนต์อาร์เทอริโอล จะแตกแขนงเป็นกลุ่มเส้นเลือดฝอยอีกครั้งหนึ่งและกลุ่มเส้นเลือดฝอยนี้จะพันเป็นตาข่ายอยู่รอบๆ ท่อหน่วยไต (renal tubule) • แล้วจึงรวมกันเป็นเส้นเลือดดำและออกจากไตทางเส้นเลือดดำรีนัล เวน(renal vein)
http://school.obec.go.th/samoengpit/elearning/bio01/bio4.htmlhttp://school.obec.go.th/samoengpit/elearning/bio01/bio4.html
http://www.besthealth.com/besthealth/bodyguide/reftext/html/urin_sys_fin.htmlhttp://www.besthealth.com/besthealth/bodyguide/reftext/html/urin_sys_fin.html
http://cwx.prenhall.com/bookbind/pubbooks/mcmurrygob/medialib/media_portfolio/28.htmlhttp://cwx.prenhall.com/bookbind/pubbooks/mcmurrygob/medialib/media_portfolio/28.html
http://school.obec.go.th/samoengpit/elearning/bio01/bio4.htmlhttp://school.obec.go.th/samoengpit/elearning/bio01/bio4.html
http://science.kennesaw.edu/~jdirnber/Bio2108/Lecture/LecPhysio/PhysioExcretory.htmlhttp://science.kennesaw.edu/~jdirnber/Bio2108/Lecture/LecPhysio/PhysioExcretory.html
ไตกับการรักษาสมดุลของน้ำและสารต่าง ๆ • โกลเมอรูลัสสามารถกรองสารเฉลี่ยวันละประมาณ 180 ลิตร • ร่างกายขับปัสสาวะวันละประมาณ 1.5 ลิตร • อีก 178.5 ลิตร หายไปไหน ? • แสดงว่า ไตมีการดูดน้ำและสารต่าง ๆ กลับ • ร่างกายเรามีกลไกอะไรที่ใช้ในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะนี้ ?
ไตกับการรักษาสมดุลของน้ำและสารต่าง ๆ • antidiuretic hormone : ADH • aldosterone
antidiuretic hormone : ADH • ถ้าร่างกายขาดน้ำ แรงดันออสโมติกในเลือดจะสูง หรือมีน้ำในเลือดต่ำ hypothalamusต่อมใต้สมอง หลั่ง ADH เข้าสู่กระแสเลือด กระตุ้นให้หน่วยไตและท่อรวมดูดน้ำกลับคืนสู่หลอดเลือด ทำให้ปริมาณน้ำในเลือดสูงขึ้น • ภาวะขาดน้ำ hypothalamus ทำให้ร่างกายเกิดการกระหายน้ำ เมื่อดื่มน้ำ แรงดันออสโมติกในเลือดจะต่ำลง จนเข้าสู่ภาวะปกติ
aldosterone • ฮอร์โมนนี้ ทำหน้าที่ ควบคุมสมดุลน้ำและแร่ธาตุ • ผลิตจากต่อมหมวกไต (adrenal gland) • ควบคุมสมดุล Na , K , P เป็นต้น http://www.besthealth.com/besthealth/bodyguide/reftext/html/urin_sys_fin.html
http://www.besthealth.com/besthealth/bodyguide/reftext/html/urin_sys_fin.htmlhttp://www.besthealth.com/besthealth/bodyguide/reftext/html/urin_sys_fin.html
Hormone Control of Water and Salt • Water reabsorption is controlled by the antidiuretic hormone (ADH) in negative feedback. • ADH is released from the pituitary gland in the brain. Dropping levels of fluid in the blood signal the hypothalamus to cause the pituitary to release ADH into the blood. • ADH acts to increase water absorption in the kidneys. • This puts more water back in the blood, increasing the concentration of the urine. • When too much fluid is present in the blood, sensors in the heart signal the hypothalamus to cause a reduction of the amounts of ADH in the blood. • This increases the amount of water absorbed by the kidneys, producing large quantities of a more dilute urine.
Hormone Control of Water and Salt • Aldosterone, a hormone secreted by the kidneys, regulates the transfer of sodium from the nephron to the blood. • When sodium levels in the blood fall, aldosterone is released into the blood, causing more sodium to pass from the nephron to the blood. • This causes water to flow into the blood by osmosis. • Renin is released into the blood to control aldosterone.
การกรองสารและการดูดสารกลับของหน่วยไตการกรองสารและการดูดสารกลับของหน่วยไต http://users.rcn.com/jkimball.ma.ultranet/BiologyPages/K/Kidney.html
http://science.kennesaw.edu/~jdirnber/Bio2108/Lecture/LecPhysio/PhysioExcretory.htmlhttp://science.kennesaw.edu/~jdirnber/Bio2108/Lecture/LecPhysio/PhysioExcretory.html
http://distance.stcc.edu/AandP/AP/AP2pages/Units14to17/endocrine/hypothal.htmhttp://distance.stcc.edu/AandP/AP/AP2pages/Units14to17/endocrine/hypothal.htm
กลไกในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะกลไกในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ • Bladder มีความจุปัสสาวะประมาณ 700-800 cm3 • ในเด็กเล็กการควบคุมปัสสาวะเป็นการควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ • เมื่อโตขึ้น สมองและก้านสมองพัฒนาขึ้น จึงสามารถควบคุมได้ • เราเริ่มปวดปัสสาวะ เมื่อมีปัสสาวะประมาณ 200 cm3ใน bladder • ผนังกระเพาะปัสสาวะ ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก ไขสันหลัง ก้านสมอง , cerebellum cortex กล้ามเนื้อกระเพาะบีบตัว urine
Filtration of the blood in the fine structure of the kidneys. http://www.estrellamountain.edu/faculty/farabee/biobk/BioBookEXCRET.html
กระบวนการเกิดปัสสาวะ • 1. Ultrafiltration การกรอง • 2. Tular secretion การขับออก • 3. Tubular reabsorption การดูดกลับ • แรงที่ทำให้เกิดการกรอง Net filtration pressure = แรงที่ทำให้เกิดกรอง - แรงต้านการกรอง
Urine Production • Filtration in the glomerulus and nephron capsule. • Reabsorption in the proximal tubule. • Tubular secretion in the Loop of Henle.
http://www.mhhe.com/biosci/ap/dynamichuman2/content/urinary/visuals.mhtmlhttp://www.mhhe.com/biosci/ap/dynamichuman2/content/urinary/visuals.mhtml
http://school.obec.go.th/samoengpit/elearning/bio01/bio9.htmlhttp://school.obec.go.th/samoengpit/elearning/bio01/bio9.html
การดูดกลับของสารที่ไตการดูดกลับของสารที่ไต • การดูดกลับของสารที่ไตเกิดขึ้นโดยอาศัย 2 กระบวนการ คือ • 1. Active transport เป็นการดูดกลับของสารที่มีความจำเป็นต่อร่างกาย เช่น กลูโคส วิตามิน กรดอะมิโน ฮอร์โมน และอิออนต่างๆ • 2. Osmosis เป็นการดูดกลับของน้ำ
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ • กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis) พบบ่อยในผู้หญิง ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย • หากไม่ได้รับการรักษา เชื้อแบคทีเรียจะสามารถเคลื่อนตัวผ่านไปยังท่อไต ทำให้ไตและกรวยไตเกิดการอักเสบ (pyelonephritis) ได้
ความผิดปกติที่เกี่ยวเนื่องกับไตและโรคของไตความผิดปกติที่เกี่ยวเนื่องกับไตและโรคของไต • โรคนิ่ว • โรคไตวาย
Kidney Stones • In some cases, excess wastes crystallize as kidney stones. • They grow and can become a painful irritant that may require surgery or ultrasound treatments. • Some stones are small enough to be forced into the urethra, others are the size of huge, massive boulders.
Kidney Stones http://www.mayoclinic.org/kidney-stones/ http://www.pathguy.com/~dlaporte/kstones.htm