1 / 20

การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย

การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย. ภญ. ดร. ดวงทิพย์ หงษ์สมุทร สำนักงานโครงการพัฒนาร้านยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา วันที่ 24 กันยายน พ.ศ.2552. ร้านยาและระบบประกันสุขภาพ. ร้านยาเป็นสถานบริการสุขภาพที่เข้าถึงได้ง่าย สะดวก พ.ศ.2545 การพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ”

Download Presentation

การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทยการนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย ภญ. ดร. ดวงทิพย์ หงษ์สมุทร สำนักงานโครงการพัฒนาร้านยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา วันที่ 24 กันยายน พ.ศ.2552

  2. ร้านยาและระบบประกันสุขภาพร้านยาและระบบประกันสุขภาพ • ร้านยาเป็นสถานบริการสุขภาพที่เข้าถึงได้ง่าย สะดวก • พ.ศ.2545 การพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” • ภาครัฐขาดแคลนบุคลากรเภสัชกรรม ภาระงานล้น • สร้างแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองของร้านยา • ทดลองนำร้านยาเข้าร่วมให้บริการในระบบประกันสุขภาพ

  3. ร้ า น ย า มีคุ ณ ภ า พ ทั่ ว ไ ท ย มีแรงจูงใจให้พัฒนา ประชาชนตื่นรู้ ร้านยาปฏิบัติ ถูกต้องตามกฎหมาย เภสัชกร มีความพร้อม เภสัชกร มีจรรยาบรรณ 12 16 1 7 กำกับดูแล จรรยาบรรณเชิงรุก 5 ให้คำปรึกษา เพื่อพัฒนา แก้ไขกฎหมาย นำร้านยาเข้าสู่ ระบบประกันฯ ประชาสัมพันธ์ ผ่าน สื่อมวลชน 13 17 8 เพิ่มโอกาสทาง การศึกษาลูกหลาน ร้านยา ฝึกอบรม เพิ่ม Competency ปลูกฝังจรรยาบรรณ นิสิต นักศึกษา 2 สนับสนุน สิทธิพิเศษ 6 ผ่านสื่อกิจกรรม เพื่อสาธารณะ 14 9 GPP PPG Code of Ethic เพิ่มความเข้มงวด ในการบังคับใช้ กฎหมาย 3 ปรับทัศนะ ร้านยา 15 พัฒนาบทบาทใหม่ เภสัชกรในร้านยา 10 สร้างระบบการจัดสรร เภสัชกรเข้าปฏิบัติงาน 4 CAREER LADDER 11 Roadmap สู่ร้านยาคุณภาพ ใช้กฎหมายกับร้าน เปิดใหม่

  4. Milestone การนำร้านยาเข้าในระบบประกันสุขภาพ กทม. (2552- ปัจจุบัน) ร้านยาคุณภาพ + สำนักอนามัย กทม. นครราชสีมา ขอนแก่น มหาสารคาม (1ตค.51- ปัจจุบัน) ร้านยาคุณภาพ 12 ร้าน + ศูนย์แพทย์ชุมชน 8 แห่ง จ.นครราชสีมา (1ตค.47-31มีค.50) ร้านสมบุญเภสัชกร + คชอ.มหาชัย จ.สมุทรปราการ (1กย.48-31สค.49) ร้านเลิศโอสถคลังยา + รพ.พระสมุทรเจดีย์ฯ จ.มหาสารคาม (1ตค.44-31ตค.46) ร้านยามหาวิทยาลัย + รพ.มหาสารคาม พื้นที่ เชียงใหม่ หาดใหญ่ สุราษฏ์ (2553- ) ร้านยาคุณภาพ +PCU พ.ศ. 2544 2546 2548 2550 2552 บทบาทร้านยา 1.screening DM&HT 2.lifestyle modification 3.refill DM&HT 4.common illness 5.health education ? 1.refill DM. 2.monitoring& counselling HT&TB 3.common illness 1.fill prescription 2.drug administration 1.home med. review 1.refill DM,HT&DLM

  5. ผลการศึกษาที่ผ่านมา 1.ร้านยาทำสัญญาเป็น sub-contractor กับ รพ. 2.ผลด้านการรักษา: 28.1% อาการดีขึ้นหลังจาก 1 สัปดาห์, 68.9% หายเจ็บป่วย, ผู้ป่วยทุกรายได้รับคำแนะนำจากเภสัชกร และ 80% ปฏิบัติตามได้, 90%กินยาครบถ้วนตามสั่ง 3.ผู้ป่วยพึงพอใจสูงสุดด้านเวลา ความสะดวก และการบริการของเภสัชกร (คะแนน 3.26-3.34 จาก 4) 4.ปัจจัยที่เลือกมาร้านยา: สะดวก(89.6%) เจ็บป่วยเพียงเล็กน้อย(67.4%) รอไม่นาน(65.9%) ใช้เวลารับบริการไม่นาน(53.3%) บริการดี(51.9%) 5.ต้นทุนประหยัดกว่าการจัดบริการโดยโรงพยาบาล มีต้นทุนอยู่ที่ 38.68 บาท/ครั้ง (ไม่รวมยา) ร้านยามหาวิทยาลัย + รพ.มหาสารคาม ผลการศึกษา • Common ill • Refill DM. • Counseling • (HT,TB) มหาสารคาม

  6. ผลการศึกษาที่ผ่านมา (ต่อ) 1. ผลทางคลินิกระหว่างการดูแลผู้ป่วยที่ร้านยาไม่ต่างกับการดูแลที่โรงพยาบาล (เปรียบเทียบค่า BP,FBS) 2.พบและแก้ปัญหา DRPs ได้ 29 ปัญหา เช่น การไอจากenalapril, ปวดกล้ามเนื้อจากsimvastatin 3.ผู้ป่วยพึงพอใจสูงสุดต่อความสะดวก (100%) พึงพอใจโดยรวม 74 % 4.เภสัชกร รพ.เห็นว่าร้านยาสามารถลดภาระของแพทย์ได้ ทำให้แพทย์มีเวลาดูแลผู้ป่วยโรคอื่นได้มากขึ้น ร้านยามีเวลาพูดคุยกับผู้ป่วยได้มากกว่าที่ รพ. ร้านเลิศโอสถคลังยา + รพ.พระสมุทรเจดีย์ ผลการศึกษา • Refill • (DM,HT,DLM) สมุทรปราการ

  7. ผลการศึกษาที่ผ่านมา (ต่อ) 1.เพิ่มคุณค่าและความปลอดภัยให้ผู้ป่วย(ป้องกันDRP 3%ส่วนใหญ่เป็น over-under dose) 2.ประกันคุณภาพการบริการเภสัชกรรม2.1 ประกันคุณภาพยา(การคัดเลือก/ประกันการหมดอายุ/ควบคุมอุณหภูมิ-แสง/แยกถาด/มีฉลากช่วย) 2.2 ประกันคุณภาพการจ่ายยา(ทบทวนใบสั่งยา/ปรึกษาแพทย์/แก้ไขปัญหา/ป้องกันการผิดตัว/อธิบายวิธีใช้) 3.ความพึงพอใจ 3.1 ผู้ป่วยพึงพอใจสูงสุด 75% (ได้ซักถาม/ประหยัดเวลา) 3.2 คลินิก (ลดภาระเรื่องยา/ได้ทำหน้าที่ตนเอง) 3.3 สสจ/สปสช (บรรลุเกณฑ์ PCU/ใช้ประโยชน์จากเอกชน) 3.4 ร้านยา (เปิดบทบาทเภสัช) 4.ประสิทธิภาพทางการเงิน :ค่าใช้จ่ายด้านเภสัชกรรมอยู่ที่ 12.5%ต่อปี(คลินิกกำหนดไว้ไม่เกิน22.8%ต่อปี) ร้านสมบุญเภสัชกร + คชอ.มหาชัย ผลการศึกษา • - Drug admin. • Fill pres. นครราชสีมา • ค่าจ่ายยา 25 บาท/ใบสั่ง • ค่าบริหารเวชภัณฑ์ 20%ของต้นทุนยาที่จ่าย

  8. ผลการศึกษาที่ผ่านมา (ต่อ) 1.ทำข้อตกลงรูปแบบแนวทางการบริการและค่าตอบแทน กับ CUPแม่ข่ายของศูนย์แพทย์ มีระบบประกันคุณภาพบริการและการฝึกอบรมผู้ให้บริการ 2.ข้อดี: เพิ่มความปลอดภัยด้านยาในPCU ระบบประกันคุณภาพบริการชัดเจน รูปแบบและสีของเม็ดยาเหมือนกับที่เคยรับกับศูนย์ฯ 3.ข้อด้อย: ระบบบริหารเวชภัณฑ์เกิดภาระ ระบบส่งต่อที่ใช้เอกสารอาจผิดพลาด/ข้อมูลไม่สมบูรณ์ ระบบค่าตอบแทนอาจไม่ยั่งยืน 4.ความพึงพอใจ 4.1 ผู้ป่วยพึงพอใจต่อบริการ (คะแนน4.4 จากเต็ม 5)(การแต่งกาย/รวดเร็ว/การเดินทาง/มีเวลาได้ซักถาม) 4.2 ผู้ให้บริการ (เห็นประโยชน์ต่อผู้ป่วย/ลดภาระงาน) 4.3 ผู้บริหารเชิงนโยบาย (เป็นไปได้/สนับสนุนการเชื่อมระบบ) 1 ร้านยาคุณภาพ12ร้าน + ศูนย์แพทย์ 8 แห่ง ผลการศึกษา • - Screening • - Lifestyle mod. • Refill pres. • Common ill. • Health ed. DM&HT นครราชสีมา,ขอนแก่น, มหาสารคาม

  9. ผลการศึกษาที่ผ่านมา (ต่อ) 5.ผลการให้บริการ5.1 การคัดกรองที่ร้านยา เพิ่มความครอบคลุมให้ศูนย์ฯ 10% (6 เดือน) พบกลุ่มเสี่ยงสูงและผู้ป่วยรายใหม่ 79.5% ไม่เสี่ยง 20.5%5.2 การปรับพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูง ปรับพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูง 50.7% (เป้าสปสช.10%) Pre-HT กลับมาปกติ 37% (เป้าสปสช.60%) Pre-DM กลับมาปกติ 75%(เป้าสปสช.60%)5.3 การเติมยาที่ร้านยา ผู้ป่วยเติมยา 12 คน ควบคุมโรคได้ 10 คน (83.3%) พบ non-compliance 58.3% ยังไม่พบDI, ADR 5.4 การจ่ายยารักษาการเจ็บป่วยเล็กน้อย 31%มีการเจ็บป่วยเล็กน้อยร่วมด้วย (ปวดเมื่อย/เบื่ออาหาร/เหน็บชา) 5.5 การให้ความรู้ จัดทำสื่อให้ความรู้ผู้ป่วยและประชาชน 6.ต้นทุนและค่าตอบแทน ต้นทุนคัดกรอง 64.15 บาท/ราย ต้นทุนเติมยา 226 บาท/6 เดือน/ราย 2 ร้านยาคุณภาพ12ร้าน + ศูนย์แพทย์ 8 แห่ง ผลการศึกษา • - Screening • - Lifestyle mod. • Refill pres. • Common ill. • Health ed. DM&HT นครราชสีมา,ขอนแก่น, มหาสารคาม

  10. คุณค่าร้านยาต่อระบบสุขภาพคุณค่าร้านยาต่อระบบสุขภาพ • เพิ่มความปลอดภัยด้านยาให้ผู้ป่วย • ส่งเสริมการทำงานเชิงสหสาขาวิชาชีพ • แพทย์มีเวลาดูแลผู้ป่วยมากขึ้น • ลดค่าใช้จ่ายของระบบสาธารณสุขโดยรวม • เพิ่มความพึงพอใจแก่ผู้ป่วย • สร้างความพึงพอใจให้กลุ่มผู้ให้บริการ

  11. Accredited Pharmacy Recognition of accredited pharmacy NHSO

  12. Accredited Pharmacy Recognition of accredited pharmacy NSHO

  13. Accredited Pharmacy Recognition of accredited pharmacy NHSO NHSO

  14. Accredited Pharmacy Recognition of accredited pharmacy NHSO

  15. กิจกรรมคัดกรองโรคโดยร้านยากิจกรรมคัดกรองโรคโดยร้านยา

  16. การเติมยาและส่งต่อ-ส่งกลับผู้ป่วยการเติมยาและส่งต่อ-ส่งกลับผู้ป่วย

  17. การจ่ายยาตามใบสั่งยาของแพทย์การจ่ายยาตามใบสั่งยาของแพทย์

  18. ให้ความรู้และปรับพฤติกรรมผู้ป่วยให้ความรู้และปรับพฤติกรรมผู้ป่วย

  19. Balancing of strategies

  20. ขอบคุณ

More Related