330 likes | 541 Views
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและ ทันตสาธารณสุขชุมชน. นายปรัชญ์ ขวัญคำ หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและ ทันตสาธารณสุขชุมชน. ขอบเขตภารกิจของกลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ฯ. งานพัฒนาคุณภาพบริการ งานทันตสาธารณสุข งานพัฒนาบุคลากร งานสุขภาพภาคประชาชน งานโครงการพิเศษ พอ . สว . / บริจาคโลหิต คลีนิคทันตกรรม.
E N D
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและทันตสาธารณสุขชุมชนกลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและทันตสาธารณสุขชุมชน นายปรัชญ์ ขวัญคำ หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและ ทันตสาธารณสุขชุมชน
ขอบเขตภารกิจของกลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ฯ • งานพัฒนาคุณภาพบริการ • งานทันตสาธารณสุข • งานพัฒนาบุคลากร • งานสุขภาพภาคประชาชน • งานโครงการพิเศษ • พอ.สว. / บริจาคโลหิต • คลีนิคทันตกรรม
งานพัฒนาคุณภาพบริการ 1. โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการและสนับสนุนงานพัฒนาคุณภาพ 2. โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ • หน่วยบริการปฐมภูมิ (PCU) • โรงพยาบาล (HA) • มาตรฐานบริการสาธารณสุข (10 คณะ) • การสำรวจความพึงพอใจ • คุณภาพบริการเครือข่าย ( เครือข่าย พยาบาล ชัณสูตร ทันตสาธารณสุข)
1. โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการและสนับสนุนงานพัฒนาคุณภาพบริการของเครือข่ายสุขภาพ ตัวชี้วัด • ด้านโครงสร้าง 1.1 มีทีมผู้สร้างคุณภาพบริการประจำจังหวัด Quality Realization Team : QRT 1.2 มีทีมพัฒนาคุณภาพบริการประจำอำเภอ Quality Improvment Team : QIT
ตัวชี้วัด 3. ทุกอำเภอมีแผนงานการพัฒนาคุณภาพบริการ ในการติดตาม ควบคุมกำกับ หน่วยบริการในเครือข่ายสุขภาพ 4. ทุกอำเภอ ได้รับการตรวจเยี่ยม จากทีม QRT อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี 5. มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกันระหว่าง ทีม QRT กับ ทีม QIT อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี
โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพโครงการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ หน่วยบริการปฐมภูมิ ตัวชี้วัด ด้านมาตรฐาน 1. ร้อยละ 90 ของ PCU ผ่านเกณฑ์มาตรฐานทั้ง 3 หมวด 2. ร้อยละ 100 ของ PCU ผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านการบริการ 3. ทีม QIT รายงานผลการตรวจประเมินมาตรฐาน PCU อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี
ตัวชี้วัดด้านบุคลากร 4. ทุกอำเภอ มีผลการวิเคราะห์กำลังคนใน PCUตามมาตรฐานบุคลากรหน่วยบริการปฐมภูมิ 5. ร้อยละ 100 ของบุคลากรที่ปฏิบัติงานใน PCU ได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะที่เหมาะสมทั้งในระดับอำเภอ จังหวัดและในเขต อย่างน้อยคนละ 1 เรื่อง/ปี
ตัวชี้วัดด้านเครือข่ายตัวชี้วัดด้านเครือข่าย 6. มีแกนนำทีมพี่เลี้ยงและเครือข่ายทีมวิจัยและพัฒนาระบบบริการ ปฐมภูมิ อย่างน้อย 2 เครือข่าย 7. มีผลงานวิจัยระบบบริการปฐมภูมิของเครือข่ายทีมวิจัยและพัฒนา อย่างน้อย 2 เรื่อง ตัวชี้วัดด้านการพัฒนาระบบบริการ 8. หน่วยบริการปฐมภูมิพัฒนาการจัดระบบบริการแบบศูนย์แพทย์ชุมชน ( Community Medicine Unit : CMU ) Tract A เพิ่มขึ้น เป็น 3 แห่ง 9. ศูนย์แพทย์ชุมชนทุกแห่งพัฒนาระบบบริการได้ตามเกณฑ์มาตรฐานศูนย์แพทย์ชุมชนพัฒนาระบบบริการ
โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตามมาตรฐานกระบวนการ HA ตัวชี้วัด 1. รพ. อย่างน้อย 1 แห่ง ผ่านการรับรอง HA ตามรายละเอียด ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติ ราชการของ เขต 14 2. รพ.ที่ผ่านการรับรอง HA บันไดขั้นที่ 2 แล้ว จำนวน 4 แห่ง พัฒนาและพร้อมขอรับการประเมิน HA 3. รพ.ที่ผ่านการรับรอง HA บันไดขั้นที่ 1 แล้วจำนวน 3 แห่ง พัฒนาและผ่านการรับรองคุณภาพ HA สู่บันไดขั้นที่ 2 4. ทุก รพ.เกิดการเรียนรู้และมีกระบวนการพัฒนาของทีมงานใน รพ.
โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานบริการสาธารณสุขจังหวัดยโสธรโครงการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานบริการสาธารณสุขจังหวัดยโสธร ตัวชี้วัด 1.มีคณะทำงานจัดทำข้อกำหนดการบริการและบทบัญญัติการให้บริการ จำนวน 2 ชุด คณะทำงานตามหมวดมาตรฐานบริการสาธารณสุข ( Health Service Standardization Team : HSST ) ได้แก่ คณะทำงานแกนนำจัดทำข้อกำหนดมาตรฐานบริการสาธารณสุขในชุมชน และมีคณะทำงานย่อย 10 คณะทำงานในส่วนมาตรฐานใน รพ.
ตัวชี้วัด 2. มีข้อกำหนดการบริการและบทบัญญัติการให้บริการที่เป็นมาตรฐานเดียวกันของจังหวัดยโสธร 3. มีการทดสอบโดยสุ่มตรวจสอบคุณภาพตามข้อกำหนดการบริการที่จัดทำขึ้น
โครงการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนเพื่อประเมินผลการพัฒนาคุณภาพบริการจังหวัดยโสธรโครงการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนเพื่อประเมินผลการพัฒนาคุณภาพบริการจังหวัดยโสธร ตัวชี้วัด ประชาชนผู้รับบริการจากหน่วยบริการสุขภาพจังหวัดยโสธร มีความพึงพอใจต่อการบริการมากกว่า ร้อยละ 80
โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพบริการด้านการพยาบาล งานชัณสูตร งานทันตกรรม ตัวชี้วัด เครือข่ายคุณภาพการพยาบาล - ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อคุณภาพการพยาบาลมากกว่าร้อยละ 80 - กลุ่มการพยาบาล ทุก รพ.ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามแนวทางการประเมิน คุณภาพการพยาบาลของสภาการพยาบาล - บุคลากรทางการพยาบาลมากกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในงานและบรรยากาศการทำงานในองค์กรพยาบาล - มีนวัตกรรม/ผลงานคุณภาพทางการพยาบาลที่ผลิต/พัฒนาขึ้น อย่างน้อย 1 เรื่อง/ผลงาน
เครือข่ายด้านชันสูตรการสาธารณสุขเครือข่ายด้านชันสูตรการสาธารณสุข - ห้องปฏิบัติการ รพ.ยโสธรมีคุณภาพผ่านการรับรองจากสมาคม เทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย - ห้องปฏิบัติการของ รพ.ชุมชนรักษาระดับการพัฒนาในระดับ 2 ทุกรพ.และเตรียมพร้อมเพื่อขอรับการรับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการ - เครือข่ายห้องปฏิบัติการจัดกระบวนการเรียนรู้และได้รับการตรวจ เยี่ยมจากสมาชิกเครือข่ายของจังหวัดยโสธร
เครือข่ายคุณภาพด้านทันตกรรมเครือข่ายคุณภาพด้านทันตกรรม DNA : DENTAL NETWORK QUALITY AUDIT - มีเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพด้านทันตกรรม - มีข้อกำหนดการบริการเครือข่ายทันตกรรม - เครือข่ายด้านทันตกรรมมีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยการตรวจประเมินคุณภาพ
งานทันตสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มอายุ 0-5 ปี 1. โครงการส่งเสริมแรงจูงใจในการแปรงฟันสำหรับเด็ก ตัวชี้วัดที่ 1 เด็กที่มารับวัคซีนกระตุ้นเข็มแรกได้รับ แปรงสีฟันครบทุกคน 2. โครงการประกวดศูนย์พัฒนาเด็กฟันดี ตัวชี้วัดที่ 2CUP มีการคัดเลือกศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฟันดีระดับอำเภอ จำนวน 1 แห่ง เพื่อประกวดในระดับจังหวัด
3. โครงการพัฒนาศักยภาพครูพี่เลี้ยงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตัวชี้วัดที่ 3 ครูพี่เลี้ยงได้รับการพัฒนาศักยภาพแห่งละ 1 คน 4. โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตัวชี้วัดที่ 4 4.1 เด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุไม่น้อยกว่า ร้อยละ 35 4.2 เด็กในศูนย์ ฯกแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ร้อยละ 80 4.3 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสถานที่แปรงฟันครบทุกแห่ง
กลุ่มอายุ 6-12 ปี 5. โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา ตัวชี้วัด - นักเรียนแปรงฟันหลังอาหารกลางวันร้อยละ 80 - โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพร้อยละ 80 • โครงการประกวดโรงเรียนฟันดี ตัวชี้วัด CUP มีการคัดเลือกโรงเรียนเข้าประกวดอำเภอละ 1 แห่ง เพื่อประกวดในระดับจังหวัด
7. โครงการส่งเสริมและป้องกันโรคด้านทันตกรรมสำหรับเด็ก “ยิ้มสดใส เด็กไทยฟันดี ” ตัวชี้วัด นักเรียน ป.1, ป.3 ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและ เคลือบหลุมร่องฟันร้อยละ 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 8. โครงการฟันเทียมพระราชทาน เป้าหมาย 300 ราย ตัวชี้วัด 1. ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพเชิงรุก 2. ผู้สูงอายุได้รับการใส่ฟันเทียมร้อยละ 80 3. ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพเชิงรับ
งานสุขภาพภาคประชาชน 1. ระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานของ อสม. 1.1 ระบบข้อมูลข่าวสาร 1.2 สวัสดิการ การสร้างขวัญ กำลังใจ 2. การพัฒนาศักยภาพ 2.1 อสม.ใหม่/เก่า 2.2 วิทยากร อบรม อสม. 2.3 ชมรม อสม. 3. ความรู้เพื่อพัฒนางานสาธารณสุขมูลฐาน 3.1 โครงการนวตกรรมตำบลสร้างสุขภาพ
โครงการพัฒนาระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานของ อสม. ตัวชี้วัด 1.1 จังหวัดยโสธร มีระบบข้อมูลข่าวสารของ อสม. บน INTERNET - ข้อมูล อสม.ทุกระดับ / อสม.ปฏิบัติงานนาน/ดีเด่น - การทำบัตรประจำตัว อสม. 1.2 ระบบสวัสดิการ การสร้างขวัญ กำลังใจ - มีกิจกรรมการคัดเลือก อสม.ดีเด่นระดับหมู่บ้าน ตำบล/อำเภอ/ จังหวัด /เขต/ภาค/ชาติ - กิจกรรมเชิดชูเกียรติ อสม./วัน อสม.
2. การพัฒนาศักยภาพ โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้ อสม.เก่า/ อสม.ใหม่ ตัวชี้วัด 2.1 อสม.เก่าร้อยละ 50 ได้รับการอบรมฟื้นฟู วิชาการ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (หลักสูตร 2 วัน 1 คืน) 2.2 อสม.ใหม่ได้รับการอบรมเข้ม (หลักสูตร 3 วัน 2 คืน)
โครงการพัฒนาศักยภาพทีมวิทยากรโครงการพัฒนาศักยภาพทีมวิทยากร ตัวชี้วัด วิทยากรอบรม อสม. ได้รับการพัฒนาศักยภาพอย่าง ต่อเนื่อง อย่างน้อย 1 ครั้ง / ปี (อบรมทักษะเพิ่มเติมด้าน ทักษะการเป็นวิทยากร วิทยากร กระบวนการ การจัดทำแผนชุมชน กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ )
โครงการพัฒนาศักยภาพสมาคม อสม.จังหวัดยโสธร ตัวชี้วัด 1. สมาคม อสม.จังหวัดยโสธร จัดประชุมแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ และพัฒนาสมาคม อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 2. สมาคม อสม.จังหวัดยโสธร มีกิจกรรมพัฒนาร่วมกัน อย่างน้อย 1 เรื่อง / ปี (โครงการเกษตรอินทรีย์ต่อเนื่อง )
โครงการนวตกรรมตำบลสร้างสุขภาพโครงการนวตกรรมตำบลสร้างสุขภาพ ตัวชี้วัด มีการวิจัยในงานสาธารณสุขมูลฐานเพื่อพัฒนาสุขภาพชุมชนใน พื้นที่นำร่อง 1 พื้นที่ ( พื้นที่ต่อเนื่อง สถานีอนามัยหนองคูน้อย ) (อำเภอนำร่อง อำเภอไทยเจริญ )
งานพัฒนาบุคลากร โครงการพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัด ร้อยละ 100 ของบุคลากรได้รับการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร การเสริมสร้างขวัญกำลังใจ และการสร้างบรรยากาศการทำงานอย่างมีส่วนร่วมไม่น้อยกว่าปีละ 3 วัน • ผู้รับผิดชอบงาน สสอ./รพ.ทุกแห่ง
โครงการพัฒนาโปรแกรมการพัฒนาบุคลากรโครงการพัฒนาโปรแกรมการพัฒนาบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละ 100 ของหน่วยงานสาธารณสุขมีระบบการจัดเก็บและส่ง ต่อข้อมูลที่มีคุณภาพ • ผู้รับผิดชอบ กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ
โครงการนำเสนอผลงานวิชาการโครงการนำเสนอผลงานวิชาการ ตัวชี้วัดที่ 3 จำนวนผลงานวิจัย ผลงานวิชาการของหน่วยงานที่นำไปใช้ ประโยชน์และมีการเผยแพร่อย่างน้อยหน่วยงานละ 1 เรื่อง • ผู้รับผิดชอบ กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ
โครงการพัฒนาบุคลากรก่อนประจำการโครงการพัฒนาบุคลากรก่อนประจำการ ตัวชี้วัดที่ 4 บุคลากรสาธารณสุขบรรจุใหม่ ได้รับการพัฒนาศักยภาพก่อนประจำการทุกคน • ผู้รับผิดชอบ กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สสจ.ยโสธร ตัวชี้วัดที่ 5 บุคลากรของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร ได้รับการพัฒนาศักยภาพทุกคน อย่างน้อยปีละ 4 วัน • ผู้รับผิดชอบ กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ