350 likes | 949 Views
การพัฒนาทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพ ( advance CPR). นายแพทย์ปกาสิต โอวาทกานนท์ นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ รักษาการผู้อำนวยการโรงพยาบาลทรายมูล. การช่วยชีวิต. A irway B reathing C irculation D efribrillation,drugs. การกดหน้าอกที่มีประสิทธิภาพ.
E N D
การพัฒนาทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพ (advance CPR) นายแพทย์ปกาสิต โอวาทกานนท์ นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ รักษาการผู้อำนวยการโรงพยาบาลทรายมูล
การช่วยชีวิต • Airway • Breathing • Circulation • Defribrillation,drugs
การกดหน้าอกที่มีประสิทธิภาพการกดหน้าอกที่มีประสิทธิภาพ • การกดหน้าอกที่มีประสิทธิภาพ ทำให้เกิดการไหลเวียนโลหิตขณะทำ CPR • การกดหน้าอกที่มีประสิทธิภาพ ผู้ช่วยเหลือทุกคนควรกดให้แรงและเร็ว (Push hard and push fast) ในอัตราความเร็ว 100 ครั้งต่อนาที • รอให้ทรวงอกกลับคืนสู่สภาพปกติ (return to normal) อย่างสมบูรณ์ ภายหลังการกดหน้าอกแต่ละครั้งและใช้เวลาการกดและผ่อนเท่าๆกัน • พยายามจำกัดการหยุดชะงักการกดหน้าอกทุกๆเวลาที่หยุดการกดหน้าอก การไหลเวียนของโลหิตก็หยุดด้วย
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับ defibrillation • การทำ defibrillation ทันทีในการรักษา VF/VT • หลังจากช็อค ให้ทำ CPR ทันที 5 cycle หรือ 2 นาที • Defibrillation สำหรับผู้ใหญ่ • Monophasic ใช้ 360 J • Biphasic 150-200 J (Biphasic truncated exponential waveform) • ใช้การช็อคเพียง 1 ครั้ง ด้วยพลังงานสูงสุด
หลักการของ ACLS (การช่วยเหลือขั้นสูง) • จุดประสงค์ • การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ใน ACLS ใหม่เพื่อลดการขัดจังหวะ CPR • ผู้นำการช่วยชีวิตควรวางแผนในการทำหัตถการต่างๆ เช่น การเช็ค rhythm, การใส่ airway และ การให้ยา โดยไม่ขัดขวางการทำ CPR
หลักสำคัญใน ACLS • หลักการรักษาลำดับแรกคือ BLS skills ที่มีประสิทธิภาพและหยุดน้อยที่สุด • การใส่ advanced airway ไม่ถือว่ามีความสำคัญมาก • ถ้าใส่ advanced airway แล้ว กดหน้าอก 100 ครั้ง/นาที ได้ต่อเนื่อง ไม่ต้องสัมพันธ์กับการช่วยหายใจ 8-10 ครั้ง/นาที (1 ครั้ง ทุก 6-8 วินาที) • ลดการทำหัตถการต่างๆเพื่อเช็ค rhythm, defibrillation, ใส่ advanced airway หรือเปิดหลอดเลือด ให้เวลาสั้นที่สุด