1 / 46

เทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ

เทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ. หัวข้อบรรยาย. 1. ทำไมต้องตีพิมพ์ผลงานวิจัย 2. เส้นทางของ manuscript (ตั้งแต่ส่งออกจากนักวิจัยจนถึงได้รับตีพิมพ์) 3. การเขียน manuscript ( การเลือกวารสาร / การเขียน manuscript). ทำไมต้องตีพิมพ์ผลงานวิจัย.

Download Presentation

เทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติเทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ

  2. หัวข้อบรรยาย 1. ทำไมต้องตีพิมพ์ผลงานวิจัย 2. เส้นทางของ manuscript (ตั้งแต่ส่งออกจากนักวิจัยจนถึงได้รับตีพิมพ์) 3. การเขียน manuscript (การเลือกวารสาร/การเขียน manuscript)

  3. ทำไมต้องตีพิมพ์ผลงานวิจัยทำไมต้องตีพิมพ์ผลงานวิจัย

  4. การวิจัย งานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ สร้างงานเพื่อมุ่งเน้นสู่การใช้งานจริง องค์ความรู้ใหม่ ทฤษฎีใหม่ ใช้งานจริง เผยแพร่ เผยแพร่ผลงาน เพิ่มองค์ความรู้แก่สาธารณะ เพิ่มองค์ความรู้แก่สาธารณะ

  5. การตีพิมพ์ผลงานวิจัย • เป็นการเผยแพร่องค์ความรู้ แนวคิดต่างๆ ที่ค้นพบ สู่สังคมโลก • เกิดการพัฒนาความรู้สร้างการเปลี่ยนแปลงและการใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัย • เป็นกระบวนการพัฒนาความรู้ พัฒนานักวิจัย การตีพิมพ์: เป็นตัวชี้วัด (KPI) ผลสำเร็จในทุกระดับ กติกาของสังคมวิจัย • ผู้ทำวิจัยทุกคน (รวมทั้งนักศึกษาบัณฑิต) จะต้องตีพิมพ์ผลงานวิจัย • นักศึกษาบัณฑิตทุกคนต้องเรียนรู้การตีพิมพ์ผลงานวิจัย • (การตีพิมพ์คือการเกณฑ์สำเร็จการศึกษา)

  6. “Your publications may change the world” Paul Berg Fred Sanger Recombinant DNA molecule DNA sequencing James Watson, FrancisCrick DNA structure Kary Mullis Polymerase chain reaction Prof. Dr. Hannes Stockinger Department of Molecular Immunology, Medical University of Vienna, Vienna, Austria

  7. บัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา ต้อง: • มีความรู้ “รู้จริงและรู้มาก” • รู้ลึกในศาสตร์ของตน, รู้กว้างในศาสตร์อื่นๆ, รู้ภาษาอังกฤษ • ทำวิจัยเป็น “ครบวงจร” • คิดโจทย์วิจัย, เขียนโครงการวิจัย, นำเสนอ, เขียน manuscript • Maturity คุณธรรม จริยธรรม, ตรงต่อเวลา, สัมมาคารวะ, รู้จักกาลเทศะ, อื่นๆ

  8. การตีพิมพ์ผลงานวิจัย

  9. เส้นทางของ manuscript นักวิจัย ทำวิจัย ผลงานวิจัย ต้นฉบับ Manuscript ส่งไปยังวารสารเพื่อตีพิมพ์ ตีพิมพ์เผยแพร่

  10. วารสารที่มีการประเมินก่อนการตีพิมพ์ (Peer review journal) วารสาร editorial office ปฏิเสธ Manuscript บรรณาธิการ ผู้ประเมิน (Reviewers)2-3 คน Analysis-Evaluation with comments ปฏิเสธ บรรณาธิการ บรรณาธิการ ผู้วิจัย -ตอบคำถาม/ปรับปรุง/แก้ไข -ทำการทดลองเพิ่ม ปฏิเสธ/ตอบรับ บรรณาธิการ Response to reviewers’ comments ตีพิมพ์ผลงานในวารสาร

  11. นักวิจัย ทำวิจัย ผลงานวิจัย ต้นฉบับ Manuscript ส่งไปยังวารสารเพื่อตีพิมพ์ ตีพิมพ์เผยแพร่

  12. การเขียน manuscript เพื่อตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ • การเลือกวารสารเพื่อตีพิมพ์ • การเขียน manuscript เพื่อตีพิมพ์เผยแพร่

  13. Step I: การเลือกวารสารเพื่อตีพิมพ์ มีวารสารทางวิทยาศาสตร์เป็นจำนวนมาก ทั้งระดับชาติและนานาชาติ Biomedical Science Journals Science and Technology > 10,000 journals เลือกวารสารที่เหมาะสมกับเนื้อหาที่จะตีพิมพ์ - Scope หรือ Area - Quality (คุณภาพ)

  14. Scope หรือ Area • แต่ละวารสารมีวัตถุประสงค์และ scope ในการตีพิมพ์แตกต่างกัน • ต้องเลือกวารสารที่เหมาะสมกับงานที่จะตีพิมพ์ วัตถุประสงค์และ scope ของแต่วารสาร: ดูรายละเอียดในวารสาร The JI publishes novel, peer-reviewed findings in all areas of experimental immunology, including innate and adaptive immunity, inflammation, host defense, clinical immunology, autoimmunity and more. The Journal of Immunological Methods is devoted to covering techniques for: (1) Quantitating and detecting antibodies and/or antigens. (2) Purifying immunoglobulins, lymphokines and other molecules of the immune system. (3) Isolating antigens and other substances important in immunological processes. (4) Labelling antigens and antibodies. (5) Localizing antigens and/or antibodies in tissues and cells. ………………….

  15. คุณภาพของวารสาร (Quality of the journal) วารสารแต่ละวารสารมีคุณภาพแตกต่างกัน แต่ละวารสารมีค่าดัชนี : Impact factor ค่า Impact factor เป็นตัวบ่งชี้คุณภาพของวารสาร

  16. Journal of Immunology Journal Facts Publisher: The Journal of Immunology (The JI) is owned and published by The American Association of Immunologists, Inc. Editor-in-Chief: Jeremy M. Boss, Ph.D. eic@aai.org Editorial Board: The Journal of Immunology Editorial Board. All Editors are practising scientists. The Staff: The JI Staff Members Impact factor: 5.745 (2010 Journal Citation Reports) Citations: The JI is cited more than any other immunology journal (2010 Journal Citation Reports)

  17. Journal of Biotechnology

  18. Journal impact factor A quantitative measure of the frequency with which the "average article" published in a given scholarly journal has been cited in a particular year or period. It is calculated each year by the Institute for Scientific Information • บ่งชี้คุณภาพของวารสาร • บ่งชี้คุณภาพของเรื่องที่ตีพิมพ์ Impact factor

  19. วารสารภาษาไทย ค่า Thai-Journal Impact Factor www.kmutt.ac.th/jif/public_html/

  20. Journal Impact Factor 2011 ของทุกวารสารมีอยู่ใน fileMicrosoft Excel

  21. Manuscript High impact factor journal Rejection Manuscript Rejection Lower impact factor journal Manuscript การส่ง manuscript เพื่อตีพิมพ์ Researchers submit Lower impact factor journal For all scientists: Rejection is normal

  22. ภายหลังขั้นตอนการเลือกวารสาร:Area+ quality คำแนะนำการเขียนสำหรับผู้นิพนธ์ “Author Guidelines” - Type of articles -Review -Research (original article) -Communication -Short report -etc. • Style • แต่ละวารสารมี style ที่แตกต่างๆ กัน - เอกสารอ้างอิง (References) แต่ละวารสารมีวิธีการเขียนเอกสารอ้างอิงที่แตกต่างๆ กัน เขียน manuscript ตามรูปแบบที่วารสารกำหนด Tip: ระหว่างการเขียนต้นฉบับให้ copy paper ของวารสารนั้นๆ มาใช้เป็น template

  23. Step I: การเลือกวารสารที่เหมาะสม Step II: การเขียน manuscript Research (original article)

  24. Getting start for writing a manuscript ประเมินโดย Editor/Reviewers Manuscript ผู้ประเมิน ดูอะไร ความน่าสนใจ ความสำคัญ ความใหม่ ไม่มีการรายงานมาก่อน ความถูกต้อง น่าเชื่อถือ การอ้างอิงงานที่มีมาก่อน

  25. Writing a manuscript Pattern of scientific paper (original article) • ชื่อเรื่อง Title • บทคัดย่อ Abstract • บทนำ Introduction • วิธีการทดลอง Materials and Methods • ผลการทดลอง และวิจารณ์ผลการทดลอง Results and Discussion • (อาจจะแยกหรือรวมกัน) • คำขอบคุณ Acknowledgements • เอกสารอ้างอิง References • Authors' contributions • Competing interests (Conflict of interest)

  26. 1. ชื่อเรื่อง Title • ตั้งชื่อโดยเอา “hi-light” ของผลงานวิจัยมาตั้งเป็นชื่อเรื่อง • Informative and specific: อ่านแล้วรู้ว่าเนื้อเรื่องใน paper คืออะไร • กระชับและน่าสนใจ

  27. A Simple Manual Rosetting Method for Absolute CD4+ Lymphocyte Counting. A Simple Manual Rosetting Method for Absolute CD4+ Lymphocyte Counting in Resource-Limited Countries. ผลิต monoclonal antibody ต่อ P-glycoprotein; พัฒนา ELISA/Flow cytometry; ตรวจหา soluble และ surface P-glycoprotein in bone marrow Soluble P-glycoprotein is present in the bone marrow plasma of leukemia patients with the level related to P-glycoprotein surface expression Production of monoclonal antibodies to P-glycoprotein: Its application in detection of soluble and surface P-glycoprotein of leukemia patients

  28. 2. บทคัดย่อ Abstract เป็นส่วนที่สำคัญมาก ปรากฎในฐานข้อมูลต่างๆ: pubmed, scopus เขียนที่หลังสุด

  29. 3. บทนำ Introduction ก่อนเขียนบทนำ ให้ตอบคำถามต่อไปนี้ • What is new and why is your work important? • Read and summarize all pertinent works in the field. • What is already known about the system/story that you are investigating? • Think that “How is your research significantly different from those described in the other paper?” • Indicate the advantage of your work that improve the existing knowledge or technology in general. From: Guidelines for writing a good scientific paper: Brochure distributed by TRF and CHE

  30. บทนำ Introduction: Start writing โดยทั่วไป บทนำ มี 2-3 paragraphs • Paragraph 1 หรือ 2: • เขียนถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่ตีพิมพ์มาก่อน โดยต้องทบทวนวรรณกรรมให้ทั่วถึงครบถ้วนอ้างอิง paper ที่นำมาใส่ให้ถูกต้อง Paragraph 2 หรือ 3: - นำเสนองานของตนเอง ให้ข้อมูลถึงเหตุผลที่ต้องทำวิจัยเรื่องนี้ - พร้อมสอดแทรกวัตถุประสงค์ของการวิจัย - ปิดท้ายด้วยผลการศึกษาสั้นๆ พร้อมประโยชน์และการประยุกค์ใช้ ต้องเขียนออกมาให้ได้ว่างานวิจัยนี้น่าสนใจ

  31. 4. วิธีการทดลอง Materials and Methods เป็นส่วนที่เขียนง่ายที่สุด มือใหม่ ควรหัดเขียนส่วนนี้เป็นลำดับแรก • วิธีการทดลอง: • เพื่อให้ผู้อ่านทราบว่าผลการทดลองได้มาอย่างไร • เพื่อให้ผู้อื่นๆ สามารถทำการศึกษาตามรายงานนี้ได้ • ต้องเขียนให้ผู้อื่นเข้าใจและมีรายละเอียด (reagents-methods) พอสมควร • แต่ต้องเป็นรายละเอียดที่มีสาระ และเป็นประโยชน์ • ถ้ามีการดัดแปลงวิธีการจากวิธีมาตรฐาน ต้องแจงรายละเอียดที่ดัดแปลง For method section • Always use past tense, especially in passive voice, because you are describing the methods you have already done.

  32. Note: It is different between writing manuscript and research proposal. For research proposal or thesis proposal - use future tense, because you describe what you are going to do. For manuscript - use past tense, because you describe what you have done.

  33. 5. ผลการทดลองและวิจารณ์ Results and Discussion • บางวารสาร กำหนดให้เขียน ผลการทดลองและวิจารณ์ผลการทดลอง แยกกัน • บางวารสารให้เขียนไปพร้อมๆ กัน • ต้องศึกษารูปแบบการเขียนก่อนเริ่มเขียน

  34. Before start writing Result part • สร้างเรื่องราวและลำดับการนำเสนอ • “Make your finding like a story of invention” • ไม่จำเป็นต้องเรียงลำดับผลการทดลองตามลำดับการศึกษาวิจัย • ให้คิดว่าผู้อ่านเป็นคนที่ไม่คุ้นเคยกับงาน หรือเทคนิคที่นำเสนอ ผลการทดลอง Results • เป็นการแสดงการค้นพบจากการศึกษาวิจัย • เป็นส่วนหลักของ manuscript

  35. Writing results • ควรมีบทนำสั้นๆ/วัตถุประสงค์ของการศึกษาในแต่ผลการทดลอง • ควรมีสรุปผลการศึกษาสั้นๆ ในแต่ผลการทดลอง • ใช้ รูปภาพ หรือ ตาราง แสดงผลเพื่อง่ายต่อการเข้าใจ • หากเป็นการเปรียบเทียบ ต้องแสดงค่าทางสถิติ • รูปและตาราง ควรนำเสนอในรูปแบบที่สวยงาม เข้าใจง่าย • “แบบeye-catching format” • ทุกรูปและตารางจะต้องมีการระบุในเนื้อเรื่อง • ทุกรูปจะต้องมีคำอธิบายรูป “figure legend” • การเขียน figure legend ต้องเขียนให้สื่อความหมายและนำไปสู่การเข้าใจรูปได้อย่างดี เป็นเรื่องที่ต้องฝึกฝนจาก paper อื่นๆ

  36. ICAM-1 expression

  37. Writing results • ควรมีบทนำสั้นๆ/วัตถุประสงค์ของการศึกษาในแต่ผลการทดลอง • ควรมีสรุปผลการศึกษาสั้นๆ ในแต่ผลการทดลอง • ใช้ รูปภาพ หรือ ตาราง แสดงผลเพื่อง่ายต่อการเข้าใจ • หากเป็นการเปรียบเทียบ ต้องแสดงค่าทางสถิติ • รูปและตาราง ควรนำเสนอในรูปแบบที่สวยงาม เข้าใจง่าย • “แบบeye-catching format” • ทุกรูปและตารางจะต้องมีการระบุในเนื้อเรื่อง • ทุกรูปจะต้องมีคำอธิบายรูป “figure legend” • การเขียน figure legend ต้องเขียนให้สื่อความหมายและนำไปสู่การเข้าใจรูปได้อย่างดี เป็นเรื่องที่ต้องฝึกฝนจาก paper อื่นๆ อาจเลี่ยนแบบวิธีการนำเสนอรูปและตารางจาก paper อื่นๆ

  38. Tips • Always use past tense in the result section, because you are describing the done work. • Example of some sentences: • - It was found that…. • - These results indicate that or indicating…. • - Figure 1 illustrates that……. • - As was shown in Table 1,…... • - In order to study……, we measured….

  39. For Discussion เป็นส่วนที่เขียนยากมาก • แปลผลการค้นพบที่แสดงใน “ผลการทดลอง” • เปรียบเทียบกับที่มีรายงานมาก่อน ทั้งที่เหมือนและแตกต่าง • นำเสนอถึงการค้นพบใหม่ ทฤษฎีใหม่ และประโยชน์ รวมถึงการประยุกต์ใช้ ควรหลักเลี่ยง นำผลการทดลองมาเขียนซ้ำใน discussion

  40. บทคัดย่อ Abstract เป็นส่วนที่สำคัญมาก ควรเขียนที่หลังสุด Writing the abstract • ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ • เริ่มต้นด้วยการกล่าวสั้นถึงที่มาของการศึกษาวิจัย • ตามด้วยวัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัย • วิธีการศึกษาวิจัยสั้น (อาจมีหรือไม่มี) • สรุปผลการศึกษา • ปิดท้ายด้วยประโยชน์และการประยุกต์ใช้ หมายเหตุ: บางวารสารกำหนดจำนวนคำในบทคัดย่อ แนะนำว่า ให้เขียนไปก่อนโดยไม่ต้องคำนึงจำนวนคำ แล้วค่อยมาตัดทิ้งภายหลัง

  41. 6. เอกสารอ้างอิง References ทุก paper ในทุกวารสาร จะต้องปิดท้ายด้วย “เอกสารอ้างอิง” - เอกสารอ้างอิง (References) - แต่ละวารสารมีวิธีการเขียนเอกสารอ้างอิงที่แตกต่างๆ กัน - ต้องเขียนเอกสารอ้างอิงตามรูปแบบที่กำหนด - ใส่เอกสารอ้างอิงให้ครบตามที่ปรากฎในเนื้อเรื่อง แนะนำให้ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์

  42. เพิ่มเติม: • เนื้อหาและรูปภาพจะทำแยกเป็น 2 ส่วน • Figure legends เขียนแยกจาก figure • การ submit manuscript ต้องมี cover letter

  43. After finish writing ต้องมีการอ่านทบทวนอย่างดี หลายๆ รอบ ก่อนส่งไปตีพิมพ์ สำหรับการตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศ Always give the manuscript to native English speaker for language correction.

  44. Tips for writing publications • Short and concise is always better than long and vague. • Consider the tense used. • Start drafting the paper from the section that you feel most comfortable and confident with. • Avoid repetition. (Results and Discussion) • (Discussion: Interpret your findings described in the result part.) • 6. Finally; • Check all information appearing in the paper at least three times. • If you have co-authors, have them check it as well. Beware: Any factual statement in the paper is the author’s responsibility. From: Guidelines for writing a good scientific paper: Brochure distributed by TRF and CHE

  45. ปัญหาที่พบบ่อยๆ • การใช้ภาษาไม่ถูกต้อง อ่านไม่รู้เรื่อง / Poor English usage • การทบทวนวรรณกรรมไม่เพียงพอ • Poor manuscript preparation • ผลการศึกษา ข้อมูล ไม่สมบูรณ์ การแปลผลไม่ถูกต้อง • สรุปผลการศึกษาไม่ตรงตามความจริง • Author lists: • คณะผู้วิจัย และการเรียงลำดับ • - ชื่อแรก / corresponding • - % contribution

  46. Publish a paper is not easy and take a lot of time. But it can be trained. Do it, practice it, then you can do it.

More Related