1 / 15

ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา

ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา. โดย. ผู้จัดการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา. หัวข้อหลักในการบรรยาย. ● นโยบายด้านการให้กู้ยืม ● นโยบายด้านการชำระหนี้ ● การสร้างความร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ. ● นโยบายด้านการให้กู้ยืม.

Download Presentation

ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา โดย ผู้จัดการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา

  2. หัวข้อหลักในการบรรยายหัวข้อหลักในการบรรยาย ● นโยบายด้านการให้กู้ยืม ● นโยบายด้านการชำระหนี้ ● การสร้างความร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ

  3. ●นโยบายด้านการให้กู้ยืม●นโยบายด้านการให้กู้ยืม ๐ จะมุ่งเน้นที่การผลิตบัณฑิตที่สอดคล้องกับตลาดแรงงานทั้งปริมาณและคุณภาพในระดับอาชีวศึกษาและปริญญาตรี ๐ระดับอาชีวศึกษา สนับสนุนการให้กู้ยืมแก่ผู้กู้ทุกสาขาวิชา ๐ระดับปริญญาตรีจะสนับสนุนให้ผู้กู้ยืม เรียนในกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์มากยิ่งขึ้น โดยกำหนดสัดส่วนการให้กู้ยืมในกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ :สังคมศาสตร์ ในอัตรา 50 : 50 ๐ สถานศึกษาจะต้องยกระดับการจัดการการศึกษาให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อผลิตทรัพยากรบุคคลที่มีความสามารถในการพัฒนาประเทศ

  4. ●นโยบายด้านการชำระหนี้●นโยบายด้านการชำระหนี้ ๐ การขอความร่วมมือจากสถานศึกษาในการกระตุ้นเตือนหรือสร้างกลไกในการสร้างจิตสำนึกให้กู้ยืมมาชำระหนี้คืน กยศ. ๐ การขอความร่วมมือจากสถานศึกษา เพื่อให้มีข้อมูลของผู้กู้ยืมที่ครบถ้วน เช่น เบอร์โทรศัพท์และที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ สถานที่ทำงาน จบการศึกษาเมื่อไหร่ และจบสาขาวิชาใด เป็นต้น

  5. การสร้างความร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ O การสร้างอาชีพให้กับผู้กู้ยืม กยศ. ได้ร่วมมือกับสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย(วว.) ดำเนินโครงการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ด้วยงานด้านวิทยาศาสตร์ เพื่อส่งเสริมให้ผู้กู้ยืม กยศ. ที่ต้องการเป็นผู้ประกอบการรายใหม่ โดยเริ่มในปี พ.ศ. 2555 เป็นปีแรก ในปีนี้ จะดำเนินการฝึกอบรม ในเดือน สิงหาคม 2556 และขอให้สถานศึกษาแจ้งผู้กู้กองทุนเพื่อให้สมัครเข้าร่วมโครงการ

  6. O ความร่วมมือกับองค์กรเครือข่ายในการสร้างจิตสำนึกและความรับผิดชอบทางการเงินให้กับแก่ผู้กู้ยืม องค์กรเครือข่าย ได้แก่ - หอการค้าไทย - สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย - สมาคมธนาคารไทย - CSR Club ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - สถาบันคลังสมองของชาติ - ศูนย์คุณธรรม เป็นต้น

  7. O ผู้กู้ต้องรู้จักวางแผนทางการเงินของตนเองและครอบครัว โดยกองทุนจะให้ความรู้ด้านการเงินส่วนบุคคลให้กับผู้กู้ยืมและผู้ปฏิบัติงานกองทุนในสถานศึกษา - เพื่อให้ผู้กู้ยืมรู้คุณค่าของเงินให้กู้ยืม - เพื่อให้ผู้กู้ยืมสามารถวางแผนการใช้เงินกู้ยืมและวางแผนการชำระหนี้ได้อย่างเป็นรูปธรรม

  8. เส้นทางเศรษฐี คนจน ขาดทุน เส้นแบ่งความจน เอากำไรไปก่อหนี้ ชนชั้นกลาง เส้นแบ่งความรวย เอากำไรไปลงทุน คนรวย

  9. มาวางแผนทางการเงินกันเถอะ มาวางแผนทางการเงินกันเถอะ รู้จักการวางแผนทางการเงิน œการรู้จักวางแผนในเรื่องการเงินของตนเองและครอบครัวอย่างเหมาะสม œเกี่ยวข้องกับเรื่องรายได้ รายจ่าย การจัดการหนี้สิน การออม การลงทุน ภาษี รวมไปถึงการรู้จักเตรียมตัวป้องกันความเสี่ยงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น

  10. ทำไมต้องวางแผนการเงิน?ทำไมต้องวางแผนการเงิน? ๏ อายุยืนขึ้น ๏ ขนาดของครอบครัวลดลง ๏ ภาระค่าใช้จ่ายในชีวิตเพิ่มขึ้น

  11. สาเหตุที่คนส่วนใหญ่ไม่วางแผนทางการเงินสาเหตุที่คนส่วนใหญ่ไม่วางแผนทางการเงิน • คิดว่าตนเองมีฐานะการเงินมั่นคงดีอยู่แล้ว • คิดว่าตัวเองมีรายได้เพียงพอสำหรับภาระค่าใช้จ่ายรายวันแล้ว • ลืมไปว่าคนเองอาจมีโอกาสเจอกับมรสุมชีวิตบ้างในอนาคต เช่น การว่างงาน ประสบอุบัติเหตุ เสียชีวิต เป็นต้น • ไม่มีเวลาที่จะจัดทำแผนการเงินของตนเอง • คิดว่าการวางแผนการเงินเหมาะสำหรับผู้ที่ใกล้เกษียณอายุเท่านั้น

  12. รายได้ที่จะได้รับ (Revenue)

  13. รายจ่าย (Expenses) ค่าใช้จ่ายที่สำคัญได้แก่ • เงินออมสำหรับแผนการในอนาคต • ค่าใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค • ให้บิดามารดา • เงินสำรองฉุกเฉิน • ภาระหนี้สิน • ค่าใช้จ่ายเพื่อประกันความเสี่ยง

  14. ตัวอย่างเช่น นาย ก. เป็นผู้กู้ยืม กยศ. จบการศึกษาระดับปริญญา มีรายได้ 15,000 บาทต่อเดือน มีหนี้ตามสัญญา กยศ. ทั้งสิ้น 100,000 บาท

  15. ภาระหนี้สิน รู้หรือไม่.. อย่างไรจึงจะเรียกว่าไม่กู้เกินตัว? กฎ 10 จำนวนหนี้ที่ต้องชำระไม่ควรเกิน 10 % ของรายได้สุทธิต่อเดือน

More Related