1 / 44

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

ภาษีเงินได้นิติบุคคล. เกรียงศักดิ์ ประสงค์สุกาญจน์. รายได้ที่ได้รับยกเว้น ไม่ต้องนำมาคำนวณภาษี. 1. เงินปันผล/เงินส่วนแบ่งกำไร 2. รายได้ที่ได้รับจากกิจการส่งเสริมการลงทุน. การคำนวณเงินปันผล/เงินส่วนแบ่งกำไร. ม. 65 ทวิ 10. ผู้รับเงินปันผล. ผู้จ่ายเงินปันผล. ยกเว้น.

Download Presentation

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาษีเงินได้นิติบุคคล เกรียงศักดิ์ ประสงค์สุกาญจน์

  2. รายได้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำมาคำนวณภาษีรายได้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำมาคำนวณภาษี 1. เงินปันผล/เงินส่วนแบ่งกำไร 2. รายได้ที่ได้รับจากกิจการส่งเสริมการลงทุน

  3. การคำนวณเงินปันผล/เงินส่วนแบ่งกำไรการคำนวณเงินปันผล/เงินส่วนแบ่งกำไร ม. 65 ทวิ 10 ผู้รับเงินปันผล ผู้จ่ายเงินปันผล ยกเว้น • บริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย • บริษัทจดทะเบียนในตลาดฯ • บริษัทถือหุ้นในบริษัทผู้จ่ายฯ ไม่น้อยกว่า 25% โดยบริษัทผู้จ่ายไม่ถือหุ้นในบริษัทผู้รับ • 1/2 • ทั้งหมด • ทั้งหมด บริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย/ กองทุนรวม/สถาบันการเงินที่ตั้งขึ้นเพื่อให้กู้ยืมฯ ต้องถือหุ้นไว้ถึง 3 เดือนก่อนและ 3 เดือนหลังจากประกาศจ่ายเงินปันผล

  4. การคำนวณเงินปันผล/เงินส่วนแบ่งกำไรการคำนวณเงินปันผล/เงินส่วนแบ่งกำไร ม. 5 วีสติ พรฎ.ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2500 • ยกเว้น เงินปันผลที่ได้รับจาก บ./ห้างที่ตั้งขึ้นตาม กม. ตปท. • บริษัท/บริษัท (มหาชน) ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย • บริษัท/ห้างหุ้นส่วนตามกฎหมายต่างประเทศ • ถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 และไม่น้อยกว่า 6 เดือน • เงินปันผลต้องมาจากกำไรที่เสียภาษีในอัตราไม่น้อยกว่า • ร้อยละ 15 • ยกเว้น เงินปันผลที่ได้รับจาก บ./ห้างที่ตั้งขึ้นตาม กม. ตปท.

  5. การคำนวณเงินปันผล/เงินส่วนแบ่งกำไรการคำนวณเงินปันผล/เงินส่วนแบ่งกำไร การคำนวณเงินปันผล/เงินส่วนแบ่งกำไร ม. 5 ทวิ พรฎ.ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2500 • ยกเว้น เงินปันผล/เงินส่วนแบ่งกำไรที่ได้จากกิจการร่วมค้า • บริษัท/ห้างหุ้นส่วนตามกฎหมายไทย • บริษัท/ห้างหุ้นส่วนตามกฎหมายต่างประเทศ • และประกอบกิจการในไทย ยกเว้น เงินปันผล/เงินส่วนแบ่งกำไรที่ได้จากกิจการร่วมค้า สำหรับ

  6. รายได้ที่ได้รับจากกิจการส่งเสริมการลงทุนรายได้ที่ได้รับจากกิจการส่งเสริมการลงทุน • เงินปันผลจากกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน • ซึ่งได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ในช่วงระยะ • เวลาที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน • ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธ์ ที่ได้รับจากผู้ได้รับ • การส่งเสริมการลงทุน

  7. รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน 1.1 หลักกรรมสิทธิ์ (Ownership Principle) 1.2 หลักประโยชน์ใช้สอย (Benefit Principle) 1.3 หลักความมีนัยสำคัญ (Materiality Principle หลักเกณฑ์เกี่ยวกับรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน

  8. รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน มูลค่าต้นทุนของรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน (1) มูลค่าต้นทุนเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สิน (2) ค่าขนส่งขาเข้า (3) ค่าเบี้ยประกันภัย ก่อนทรัพย์สินนั้นพร้อมที่ใช้งาน (4) ค่าภาษีอากร อาทิ ภาษีศุลกากร ภาษีมูลค่าเพิ่ม (5) ค่าติดตั้ง (Installation) (6) ค่าทดลองเดินเครื่องจักร (Running Test) (7) ค่าโสหุ้ยต่างๆ เพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สิน อาทิ ค่านายหน้า (8) ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สินก่อนวันที่ ทรัพย์สินพร้อมใช้งานได้ตามประสงค์

  9. รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน 3. ต้นทุนของรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนฯ (1) รายจ่ายในการต่อเติม (2) รายจ่ายในการเปลี่ยนแปลง (3) รายจ่ายในการขยายออกซึ่งทรัพย์สิน (4) รายจ่ายในการทำให้ทรัพย์สินดีขึ้น

  10. รายจ่ายในการทำให้ดีขึ้นซึ่งทรัพย์สินรายจ่ายในการทำให้ดีขึ้นซึ่งทรัพย์สิน คำว่า “ดีขึ้น” หมายถึง สภาพของทรัพย์สินที่ดีขึ้น กว่าวันที่ได้มาซึ่งทรัพย์สินนั้น สภาพ ณ วันที่ได้ ทรัพย์สินนั้นมา มีสภาพดีกว่า สภาพ ณ วันที่ได้ ทรัพย์สินนั้นมา

  11. หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อซื้อหรือให้ได้มาซึ่งทรัพย์สิน แนวปฏิบัติเกี่ยวดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อซื้อหรือให้ได้มาซึ่งทรัพย์สิน ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่เกิดขึ้นก่อนวันที่ทรัพย์สินนั้นอยู่ในสภาพ • พร้อมที่จะใช้ได้ตามประสงค์ ให้ถือเป็นต้นทุนของทรัพย์สิน • หรือรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ทรัพย์สินนั้นอยู่ในสภาพ พร้อมที่จะใช้ได้ตามประสงค์ให้ได้รับสิทธิยกเว้นภาษี พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 375) พ.ศ. 2543

  12. ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน กรณีรถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสาร ที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ให้คำนวณหักค่าสึกหรอและเลื่อมราคาจากมูลค่าต้นทุนเฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 1 ล้านบาท ส่วนที่เกิน 1 ล้านบาท ถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม ตาม พรฎ.(ฉบับที่ 315) พ.ศ.2540

  13. การตัดมูลค่าต้นทุนที่เหลือ/การทำลายสินค้าการตัดมูลค่าต้นทุนที่เหลือ/การทำลายสินค้า คำสั่งกรมฯที่ ป. 79/2541 ของเสียตามปกติ เป็นต้นทุนของสินค้า ของเสียเกินปกติ/สินค้าเสื่อมคุณภาพ/หมดอายุ จะตัดเป็นต้นทุนได้เมื่อ 1. สินค้าที่ไม่สามารถเก็บรักษาไว้ได้ได้รับอนุมติ จากผู้มีอำนาจ และมีการรับรองจากผู้สอบบัญชี 2. สินค้าที่เก็บรักษาไว้ได้เหมือนกรณีที่ 1 แต่ต้องแจ้ง สรรพากรฯ ล่วงหน้า 30 วัน ก่อนทำลาย

  14. การหักค่าสึกหรอ/ค่าเสื่อมอัตราพิเศษการหักค่าสึกหรอ/ค่าเสื่อมอัตราพิเศษ พรฎ. (ฉบับที่ 145) พ.ศ. 2527 การหักค่าเสื่อมอัตราพิเศษ • คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (ม. 4 จัตวา (1)) • หักได้ 3 รอบระยะเวลาบัญชี • หัก ได้ 3 ร้อยละ 40 ส่วนที่เหลือหักได้ 3 รอบบัญชี • เฉพาะ กรรีกิจการ EME

  15. การหักค่าสึกหรอ/ค่าเสื่อมอัตราพิเศษการหักค่าสึกหรอ/ค่าเสื่อมอัตราพิเศษ กิจการขนาดย่อม (SME) พรฎ. (ฉบับที่ 145) พ.ศ. 2527 • อาคารโรงงาน (ม. 4 เบญจ) • 25% ในวันที่ได้ทรัพย์สินมา ที่เหลือตามปกติ • เครื่องจักร/อุปกรณ์เครื่องจักร (ม. 4 ฉ) • 40% ในวันที่ได้ทรัพย์สินมา ที่เหลือตามปกติ

  16. การหักค่าสึกหรอ/ค่าเสื่อมอัตราพิเศษการหักค่าสึกหรอ/ค่าเสื่อมอัตราพิเศษ กิจการขนาดย่อม (SME) พรฎ. (ฉบับที่ 145) พ.ศ. 2527 • ทรัพย์สินอื่นๆ (ม.4 นว) • ให้หัก ค่าเสื่อมในอัตราร้อยละ 100 สำหรับ ทรัพย์สินที่ได้มา • ในระหว่างรอบฯซึ่งมีมูลค่าไม่เกิน 500,000 บาท • เฉพาะทรัพย์สินที่ได้มา และอยู่ในสภาพพร้อมใช้ • ตั้งแต่ 6 ส.ค.51 ถึง 31 ธ.ค.53

  17. การตีราคาทรัพย์สินที่เพิ่มขึ้น ตาม ม.65ทวิ(6) • ราคาทรัพย์สิน (ยกเว้นสินค้าคงเหลือ) • ให้ถือตามราคาที่พึงซื้อได้ตามปกติ • ในกรณีที่มีการตีราคาทรัพย์สินเพิ่มขึ้น • ห้ามมิให้นำราคาที่ตีเพิ่มขึ้น ไปคำนวณกำไร/ • ขาดทุนสุทธิ • ทรัพย์สินใดที่สามารถหำค่าเสื่อมได้ • ให้คำนวณหักค่าเสื่อมฯต่อไป ตาม พรฎ.145 • ค่าของทรัพย์สิน (ยกเว้นสินค้า) ที่ตีราคาต่ำลง • ถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม (ม.65 ตรี(17)

  18. ขายสินค้า/บริการในอัตราที่ต่ำกว่าราคาตลาดขายสินค้า/บริการในอัตราที่ต่ำกว่าราคาตลาด ม. 65 ทวิ (4) • โอนทรัพย์สิน/ให้บริการ/ให้กู้ยืมเงินโดยไม่มีค่าตอบแทน หรือมีค่าตอบแทนต่ำกว่าราคาตลาด โดยไม่มีเหตุอันควร • โอนทรัพย์สินที่เป็นหุ้น? • สินค้าเสื่อมสภาพ/หมดอายุ/ล้าสมัย • ลูกหนี้ค้างชำระค่าหุ้น โดยไม่เรียกเก็บดอกเบี้ย • ให้กู้ยืมโดยไม่คิดดอกเบี้ย/ดอกเบี้ยต่ำ

  19. ราคาตลาดตาม ป.113/2545 “ราคาตลาด” หมายความว่า ราคาของค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือดอกเบี้ย ซึ่งคู่สัญญาที่เป็นอิสระต่อกัน พึงกำหนดโดยสุจริตในทางการค้า กรณีโอนทรัพย์สิน ให้บริการ หรือให้กู้ยืมเงินที่มีลักษณะ ประเภท และชนิดเช่นเดียวกัน ณ วันที่โอนทรัพย์สิน ให้บริการ หรือให้กู้ยืมเงิน (Comparable Uncontrolled Price: CUP) “คู่สัญญาที่เป็นอิสระต่อกัน” หมายความว่า คู่สัญญาที่ไม่มี ความสัมพันธ์ระหว่างกันในการจัดการ การควบคุม หรือร่วมทุน โดยทางตรงหรือโดยทางอ้อม

  20. ขายสินค้า/บริการในอัตราที่ต่ำกว่าราคาตลาดขายสินค้า/บริการในอัตราที่ต่ำกว่าราคาตลาด วิธีการกำหนดราคาตลาด ตาม ป. 113/2545 • 1. เทียบกับราคาที่ไม่ได้มีการควบคุม • 2. ราคาขายต่อ • 3. ทุนบวกกำไรส่วนเพิ่ม • 4. วิธีอื่นๆ ที่เป็นสากล

  21. คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.26/2534 ดอกเบี้ยดังต่อไปนี้ ไม่ต้องคำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะ การให้กู้ยืมเงินกันเองของบริษัทในเครือ ถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ถือหุ้นไม่น้อยกว่า 6 เดือนก่อนวันที่กู้ยืม ไม่รวมถึงธุรกิจธนาคาร ธุรกิจเงินทุนหลักทรัพย์ ธุรกิจรับประกันชีวิต ถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ถือหุ้นไม่น้อยกว่า 6 เดือนก่อนวันที่กู้ยืม ไม่รวมถึงธุรกิจธนาคาร ธุรกิจเงินทุนหลักทรัพย์ ธุรกิจรับประกันชีวิต

  22. คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.26/2534 ดอกเบี้ยดังต่อไปนี้ ไม่ต้องคำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะ การนำเงินไปฝากธนาคาร หรือซื้อตั๋วเงินของสถาบันการเงิน ไม่รวมถึงธุรกิจธนาคาร ธุรกิจเงินทุนหลักทรัพย์ ธุรกิจรับประกันชีวิต ให้พนักงานกู้ยืมเงิน โดยมีระเบียบฯหรือทุนอื่นใด โดยนำกองทุนนี้ออกให้พนักงานกู้ยืม

  23. ขายสินค้า/บริการ ในอัตราที่ต่ำกว่าราคาตลาด การจำหน่ายจ่ายโอน/ให้บริการ/ให้กู้ยืมที่มีเหตุอันควร บริจาคให้แก่องค์การสาธารณกุศล แจก/แถมสินค้าเพื่อส่งเสริมการขาย บริการที่แถมไปกับการขายสินค้า(รับประกันซ่อมฟรี) ให้พนักงานกู้ยืม โดยมีระเบียบ/กองทุนกู้ยืม ของกิจการ

  24. การรับรู้ผลขาดทุนจาก STOCK LOSS ตาม ม.65 ทวิ(6) ราคาสินค้าคงเหลือในวันสุดท้ายของรอบบัญชี ให้คำนวณ ราคาทุน หรือราคาตลาด แล้วแต่อย่างใด จะน้อยกว่า และให้ถือเป็นราคาสินค้าคงเหลือต้นงวด สำหรับรอบถัดไป เมื่อใช้วิธีการใดคำนวณราคาทุนแล้ว ต้องใช้วิธีการนั้น ในการคำนวณตลอดไป(เว้นแต่ได้รับอนุมัติจากอธิบดี)

  25. กรณีผลขาดทุนจาก STOCK LOSS กรณีบันทึกบัญชีด้วยระบบ Periodic Inventory หากราคาตลาดน้อยหว่าราคาทุน และมีการบันทึก บัญชีด้วยระบบ Periodic Inventory ผลขาดทุนดังกล่าว จะนำมาเป็นรายจ่ายในการ คำนวณกำไรสุทธิในรอบบัญชีนั้นอีกไม่ได้ เนื่องจากการ ตีราคาตลาดต่ำกว่าราคาทุนนั้นเท่ากับเป็นการหักรายจ่าย ไปในตัวแล้ว (กค 08002/11509 ลว. 5 ก.ค. 2537)

  26. กรณีผลขาดทุนจาก STOCK LOSS กรณีผลขาดทุนจาก STOCK LOSS กรณีบันทึกบัญชีด้วยระบบ Perpetual Inventory หากราคาตลาดน้อยหว่าราคาทุน และมีการบันทึก บัญชีด้วยระบบ Periodic Inventory ผลขาดทุนดังกล่าว สามารถนำมาเป็นรายจ่าย ในการคำนวณกำไรสุทธิในรอบบัญชีนั้นได้ เพราะมูลค่า ส่วนที่ลดลง ยังไม่ได้นำไปถือเป็นต้นทุนขายในรอบบัญชี นั้น (กค 08002/11509 ลว.5 ก.ค. 2537)

  27. กรณีผลขาดทุนจากสินค้ากรณีผลขาดทุนจากสินค้า ที่เป็นหลักทรัพย์ กรณีเป็นหลักทรัพย์เพื่อค้า • 1. สามารถซื้อขายได้ทันทีในตลาดหลักทรัพย์ • 2. ต้องมีการซื้อขายอย่างสม่ำเสมอ • 3. มีความต้องการที่จะจำหน่ายหลักทรัพย์ภายในรอบ • ดำเนินงานปกติ หรือ ภายใน 1 ปี ถือว่าหลักทรัพย์ • ดังกล่าว เป็นสินค้า ดังนั้นต้องตีราคาหลักทรัพย์ใน • ราคาทุน หรือราคาตลาด แล้วแต่อย่างใดจะน้อยกว่า

  28. กรณีผลขาดทุนจากสินค้ากรณีผลขาดทุนจากสินค้า ที่เป็นหลักทรัพย์ กรณีไม่เป็นหลักทรัพย์เพื่อค้า ถือว่าหลักทรัพย์ดังกล่าว เป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ประเภทเงินลงทุน ดังนั้นจึงต้องตีราคาหลักทรัพย์ ตามราคาที่พึงซื้อหลักทรัพย์นั้นได้ตามปกติ หาก หลักทรัพย์ มีราคาต่ำลงหรือสูงขึ้น ก็ไม่สามารถ นำมาคำนวณกำไรหรือขาดทุนสุทธิได้ ทั้งนี้ ตาม ม. 65 ตรี(17)

  29. การจำหน่ายหนี้สูญ ลักษณะของหนี้สูญ ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 หนี้จากการประกอบกิจการ/เนื่องจากการประกอบกิจการ หรือหนี้ที่ได้นำไปเป็นเงินได้ในการคำนวณกำไรสุทธิ ► ไม่เป็นหนี้ของกรรมการหรือหุ้นส่วนผู้จัดการ ► หนี้ยังไม่ขาดอายุความและสามารถฟ้องร้องได้ ไม่เป็นหนี้ของกรรมการหรือหุ้นส่วนผู้จัดการ หนี้ยังไม่ขาดอายุความและสามารถฟ้องร้องได้

  30. การจำหน่ายหนี้สูญ เงื่อนไขการตัดหนี้สูญตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 • 1. หนี้จำนวนไม่เกิน 100,000 บาท • ► ติดตามทวงถามตามสมควรแล้ว • ► ค่าใช้จ่ายในการฟ้อง ไม่คุ้มกับมูลหนี้ ติดตามทวงถามตามสมควรแล้ว • ค่าใช้จ่ายในการฟ้อง ไม่คุ้มกับมูลหนี้

  31. การจำหน่ายหนี้สูญ เงื่อนไขการตัดหนี้สูญตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 • หนี้จำนวนเกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 500,000 บาท • 1. ติดตามทวงถามตามสมควรแล้ว ปรากฏว่า • ลูกหนี้ตาย/สาบสูญ ไม่มีทรัพย์สินจะชำระหนี้ • ลูกหนี้เลิกกิจการ และมีหนี้ของเจ้าหนี้อื่นๆ เป็นจำนวนมากกว่า • 2. ฟ้องในคดีแพ่ง/ขอเฉลี่ยหนี้ และศาลได้รับฟ้องแล้ว • 3.ฟ้องในคดีล้มละลาย/ยื่นขอชำระหนี้ในคดีล้มละลาย • และศาลได้รับคำฟ้อง/คำขอชำระหนี้แล้ว • กรรมการ/หุ้นส่วนผู้จัดการมีคำสั่งอนุมัติให้จำหน่ายหนี้สูญ • ภายใน 30 วันนับแต่วันสิ้นรอบฯ (เฉพาะกรณี 2 และ 3) • กรรมการ/หุ้นส่วนผู้จัดการมีคำสั่งอนุมัติให้จำหน่ายหนี้สูญ • ภายใน 30 วันนับแต่วันสิ้นรอบฯ (เฉพาะกรณี 2 และ 3)

  32. การจำหน่ายหนี้สูญ เงื่อนไขการตัดหนี้สูญตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 • 3. หนี้จำนวนเกิน 500,000 บาท • เหมือนกับกรณีที่ 2 • ฟ้องในคดีแพ่ง/ยื่นคำขอเฉลี่ยหนี้ โดยศาลมีคำสั่งของศาลแล้ว แต่ลูกหนี้ไม่มีทรัพย์สินใดๆ จะชำระ • ฟ้องในคดีล้มละลาย/ขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย • โดยศาลเห็นชอบกับการประนอมหนี้/พิพากษาให้ล้มละลาย และมีการแบ่งทรัพย์ฯ ในครั้งแรก

  33. รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการส่วนตัว การให้โดยเสน่หาการกุศล ม. 65 ตรี (3) = การส่วนตัว การให้โดยเสน่หา การกุศล • ซื้อบัตรกีฬา / ซื้อของขวัญอวยพร • ค่าช่วยงานศพ/ ค่าช่วยงานแต่งงานลูกค้า • เงินช่วยพนักงานที่ไม่มีระเบียบ • ค่าสมาชิกสนามกอล์ฟ • ซื้อบัตรกีฬาการกุศล • เว้นแต่........

  34. รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ/รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ/ สาธารณะประโยชน์ รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ/สาธารณะประโยชน์ • การกุศลสาธารณะองค์การที่มีวัตถุประสงค์ • เพื่อการกุศลสาธารณะ • การสาธารณะประโยชน์ ตามประกาศอธิบดีฯ • เกี่ยวกับภาษีเงินได้ฉบับที่ 44 • หักค่าใช้จ่ายตามที่จ่ายจริง แต่ต้องไม่เกิน 2% ของกำไรสุทธิ • ก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ/สาธารณะประโยชน์ • และรายจ่ายเพื่อการศึกษา/กีฬา

  35. รายจ่ายเพื่อการศึกษา/กีฬารายจ่ายเพื่อการศึกษา/กีฬา การศึกษา/กีฬา  ตามประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับภาษีเงินได้ ฉบับที่ 44 หักค่าใช้จ่ายตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่ต้องไม่เกิน 2% ของกำไรสุทธิก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ/ การสาธารณะประโยชน์และรายจ่ายเพื่อการศึกษา/กีฬา ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 52/2537

  36. รายจ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษารายจ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษา พรฎ. (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2547 • เป็นค่าใช้จ่ายตามโครงการที่กระทรวงศึกษาให้ความเห็นชอบ • โดยเน้น • ค่าใช้จ่ายในการจัดหา/จัดสร้างอาคารหรือที่ดิน • ค่าใช้จ่ายในการจัดหาอุปกรณ์เพื่อการศึกษา คอมพิวเตอร์ • ค่าใช้จ่ายในการจัดหาจัดหาครู อาจารย์ หรือผู้ทรงคุณวุฒิทาง การศึกษา • หรือเป็นทุนการศึกษา การประดิษฐ์ การพัฒนา การค้นคว้า หรือการวิจัย • สำหรับนักเรียน นิสิต หรือนักศึกษาของสถานศึกษา หักได้ 2 เท่า แต่ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของกำไรสุทธิก่อนหักรายจ่าย เพื่อการกุศลสาธารณะ/สาธารณะประโยชน์และรายจ่ายเพื่อการศึกษา/กีฬา

  37. ค่ารับรอง ม. 65 ตรี (4)  ค่ารับรองเป็นรายจ่ายต้องห้าม เว้นแต่ ที่เป็นไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 143 (พ.ศ.) 2522 • ตามธรรมเนียมประเพณี • ประโยชน์ต่อธุรกิจ และไม่ได้เป็นการเลี้ยงลูกจ้างของตน • สิ่งของไม่เกินคนละ 2,000 บาท • มีหลักฐานและมีผู้อนุมัติ • หักเป็นค่าใช้จ่ายได้ 0.3 ของยอดรายได้/ยอดขาย/ • ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว แต่ทั้งนี้ ค่ารับรองต้องไม่เกิน 10,000,000 บาท

  38. ม. 65 ตรี (6)  เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม ค่าปรับ ทางอาญา และภาษีเงินได้นิติบุคคลของบริษัท/ ห้างหุ้นส่วนฯ เป็นรายจ่ายต้องห้าม • เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม ค่าปรับทางอาญา • ตาม ประมวลรัษฎากรฯ • ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ที่ออกแทนฯ • ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ • ภาษีท้องถิ่น เช่นภาษีโรงเรือนฯ

  39. ม. 65 ตรี (6)  ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีซื้อ เป็นรายจ่ายต้องห้าม เว้นแต่ • ภาษีซื้อต้องห้าม ตาม ม.82/5(4) ค่ารับรอง • ภาษีซื้อต้องห้าม ตามประกาศอธิบดีฯ • เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม ฉบับที่ 42 เช่น • ภาษีซื้อ จากรถยนต์นั่ง หรือรถยนต์โดยสาร • ที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 ที่นั่ง • ภาษีซื้อจากใบกำกับภาษีอย่างย่อ • ภาษีซื้อจากการซื้อสินค้าหรือรับบริการ • ของผู้ประกอบการที่ไม่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

  40. การหักผลขาดทุนสะสม ตาม ม.65ตรี (12) ต้องเป็นผลขาดทุน ซึ่งได้คำนวณตามเงื่อนไข ของ ม.65 ทวิ และ 65 ตรี ต้องเป็นผลขาดทุนที่เกิดขึ้นในรอบบัญชี ที่นับย้อนหลังขึ้นไปไม่เกินห้ารอบบัญชี ผลขาดทุนสุทธิในรอบใดเกิดขึ้นก่อน ต้องนำไปหัก จากผลกำไรของรอบบัญชีแรกที่มีผลกำไรก่อน ตามหลัก First loss First use

  41. กรณีศึกษาการหักผลขาดทุนสะสม ตาม ม.65ตรี (12) บริษัทขอยื่นปรับปรุง ภงด.50 ของรอบบัญชีปีก่อนรอบบัญชี ที่ถูกกรมสรรพากรตรวจสอบ ทำให้มีผลขาดทุนสะสมจากปีก่อน ผลขาดทุนดังกล่าวสมารถนำมาเป็นค่าใช้จ่ายของปีที่ถูกตรวจสอบได้หรือไม่? กรณีบริษัททำการลดทุน/ โอนเงินสำรอง/ นำส่วนเกินมูลค่าหุ้นไปล้างขาดทุนสะสม ต่อมาบริษัทมีผลกำไรฯ บริษัทสามารถนำผลขาดทุนฯที่ถูกล้างออกไปแล้ว ไปเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อหักออกจากกำไรได้หรือไม่?

  42. ม. 65 ตรี (18) รายจ่ายซึ่งผู้จ่ายพิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ ถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม เว้นแต่ • จ่ายเช็คขีดคร่อมระบุเป็นชื่อผู้รับเงิน • และเช็คผ่านการขึ้นเงินแล้ว • โอนเงินเข้าบัญชีของผู้รับเงิน • สำเนาบัตรประชาชนของผู้รับเงิน พร้อมลายเซ็น • และผู้รับเงินสามารถยืนยันว่าได้รับเงินจริง • หลักฐานอื่นๆ

  43. รายจ่ายที่กำหนดจ่ายจากผลกำไร (ม.65 ตรี(19)) รายจ่ายที่กำหนดจากผลกำไร ตาม ม.65 ตรี(19) รายจ่ายที่กำหนดจ่าย จากผลกำไรที่ได้เมื่อสิ้นสุด รอบบัญชีแล้ว ถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม ผลกำไรดังกล่าว ไม่จำเป็นต้องเป็นกำไรสุทธิ แต่เป็นผลกำไรที่กิจการคำนวณขึ้น และใช้เป็นเกณฑ์ ในการกำหนดรายจ่ายต่างๆ โดยต้องเป็นกำไร ที่เกิดจากการคำนวณเมื่อสิ้นรอบบัญชีฯ

  44. END OF PRESENTATION Thank you

More Related