1 / 34

การศึกษากับการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน

การศึกษากับการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน. สำนักพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ 16 กันยายน 2548. หัวข้อการนำเสนอ. 1. บทนำ. 2. บทบาทของการศึกษาและกำลังแรงงานต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ. 3. สถานะกำลังคนในอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์เพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศ.

meena
Download Presentation

การศึกษากับการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การศึกษากับการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันการศึกษากับการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน สำนักพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ 16 กันยายน 2548

  2. หัวข้อการนำเสนอ 1. บทนำ 2. บทบาทของการศึกษาและกำลังแรงงานต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ 3. สถานะกำลังคนในอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์เพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 4. บทสรุปและแนวทางในการดำเนินงานในระยะต่อไป

  3. 1. บทนำ

  4. Ultimate Goal:Sustained Prosperity Knowledge – based Economy Education Innovation ICT Economic & Institutional Regime กำลังคนที่มีคุณภาพเป็นรากฐานของเศรษฐกิจ ที่มีความมั่งคั่งอย่างสมดุลและยั่งยืน

  5. การพัฒนากำลังคนที่จะเข้าสู่อุตสาหกรรมและแรงงานปัจจุบันเป็นประเด็นท้าท้ายและต้องเร่งดำเนินการการพัฒนากำลังคนที่จะเข้าสู่อุตสาหกรรมและแรงงานปัจจุบันเป็นประเด็นท้าท้ายและต้องเร่งดำเนินการ Resource based Production Value Creation Knowledge Application Is Human Capitala Strict Limit on the Industry Development?

  6. วัตถุประสงค์หลักของรายงาน • เพื่อประเมินสถานะของกำลังแรงงานทั้งในเชิงประมาณและคุณภาพในอุตสาหกรรมสำคัญ • เพื่อชี้ประเด็นปัญหาและเพิ่มความตระหนักต่อความท้าท้ายและความเร่งด่วนของประเด็นการพัฒนาด้านกำลังคน/แรงงาน

  7. 2. บทบาทของการศึกษาและกำลังแรงงานต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ

  8. บทบาทของการศึกษาในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานความรู้บทบาทของการศึกษาในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานความรู้ แผนภาพ 2.1 ก แผนภาพ 2.1 ข ที่มา: Dahlman, C., (2003), World Bank Knowledge Economy, Products and Strategy: Emerging Lesson, Presentation at PREM Learning Week (April 9), Washington D.C.; Knowledge Assessment Methodology at www.worldbank.org/gdln.kam.htm.

  9. บทบาทการศึกษาและแรงงานที่มีคุณภาพต่อการพัฒนาเศรษฐกิจบทบาทการศึกษาและแรงงานที่มีคุณภาพต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ที่มา: The World Bank, Thailand Productivity and Investment Climate Survey, 2004.

  10. 3. สถานะของกำลังคนในอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์เพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศ3. สถานะของกำลังคนในอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์เพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

  11. สถานะแรงงานในเชิงปริมาณ:สถานะปัจจุบันของแรงงานในอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ 12 สาขา ที่มา: มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2547)

  12. ประมาณการความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ประมาณการความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ 3.5 ล้านคน 4.0 ล้านคน ที่มา: มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2547)

  13. สถานะแรงงานในเชิงปริมาณ:ความต้องการแรงงานกระจุกตัวอยู่ใน 3 อุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ ที่มา: มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2547)

  14. ประมาณการกำลังแรงงานด้าน S&T และ Non S&T ในอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ ปี2552 ที่มา: มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2547)

  15. อุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ต้องการกำลังแรงงานที่มีวุฒิการศึกษาอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ต้องการกำลังแรงงานที่มีวุฒิการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และต่ำกว่า ที่มา: มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2547)

  16. ประมาณการการผลิตกำลังคน ปี 2547 และ 2552 ที่มา: มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2547)

  17. การเปรียบเทียบความต้องการแรงงานส่วนเพิ่มและกำลังการผลิตการเปรียบเทียบความต้องการแรงงานส่วนเพิ่มและกำลังการผลิต 2547 และ 2552 ที่มา: มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2547)

  18. สถานะแรงงานในเชิงคุณภาพ: ทักษะ/ความชำนาญและการศึกษาของแรงงานในภาคอุตสาหรรมเป็นอุปสรรคต่อการประกอบธุรกิจ ที่มา: The World Bank, Thailand Productivity and Investment Climate Survey, 2004; Malaysia Productivity

  19. สถานะแรงงานในเชิงคุณภาพ: ทักษะความชำนาญและการศึกษาของพนักงานเป็นปัญหาของการประกอบธุรกิจในทุกขนาดของกิจการ และในอุตสาหกรรมเสื้อผ้าพบปัญหาแรงงาน ขาดคุณภาพมากกว่ากลุ่มอื่นๆ ที่มา: The World Bank, Thailand Productivity and Investment Climate Survey, 2004

  20. ปัญหาด้านทักษะความชำนาญและการศึกษาของพนักงาน: กิจการที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันออก กรุงเทพและปริมณฑล อุตสาหกรรมส่งออกและอุตสาหกรรมที่ต่างชาติเป็นเจ้าของประสบปัญหาแรงงานไม่มีคุณภาพมากเมื่อเทียบกับกลุ่มอื่น Percent of Firms Identifying Skills and Education of AvailableWorkers as a “Severs” or “Very Severe” Obstacle Percent of Firms Identifying Skills and Education of AvailableWorkers as a “Severs” or “Very Severe” Obstacle ที่มา: The World Bank, Thailand Productivity and Investment Climate Survey, 2004.

  21. สถานะแรงงานในเชิงคุณภาพ:แรงงานในภาคอุตสาหกรรมไทยมีทักษะทั้งในเชิงคิด ความรู้คอมพิวเตอร์ ภาษา และด้านการสื่อสาร อยู่ในระดับต่ำกว่าค่าคาดหวัง ที่มา: มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2547)

  22. การวิเคราะห์ผลตอบแทนของการศึกษาตามจำนวนปีการศึกษาที่สำเร็จ ที่มา: The World Bank, Thailand Productivity and Investment Climate Survey, 2004; Malaysia Productivity and Investment Climate, 2002.

  23. ผลตอบแทนของแรงงานตามระดับการศึกษาที่สำเร็จ:ผลตอบแทนของแรงงานตามระดับการศึกษาที่สำเร็จ: แรงงานที่จบการศึกษาระดับปริญญาได้ผลตอบแทนสูง (Wage premiums) ที่มา: The World Bank, Thailand Productivity and Investment Climate Survey, 2004

  24. แรงงานที่มีการศึกษาในระดับสูงมีแนวโน้มที่จะปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงานได้ดีแรงงานที่มีการศึกษาในระดับสูงมีแนวโน้มที่จะปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงานได้ดี ที่มา: The World Bank, Thailand Productivity and Investment Climate Survey, 2004.

  25. ผู้จัดการของกิจการประเมินว่าแรงงานมีทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษในระดับต่ำผู้จัดการของกิจการประเมินว่าแรงงานมีทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษในระดับต่ำ ที่มา: The World Bank, Thailand Productivity and Investment Climate Survey, 2004.

  26. Return to Training: แรงงานที่ผ่านการฝึกอบรมจะได้รับค่าตอบแทนเพิ่มสูงขึ้น ที่มา: The World Bank, Thailand Productivity and Investment Climate Survey, 2004.

  27. 4. บทสรุปและแนวทางในการดำเนินงานในระยะต่อไป4. บทสรุปและแนวทางในการดำเนินงานในระยะต่อไป

  28. สรุป: กำลังคนจะเป็นข้อจำกัดในการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันหากไม่เร่งดำเนินการแก้ไข • แรงงานปัจจุบันมีการศึกษา ทักษะ และความชำนาญต่ำ • กำลังคนในระดับการศึกษา ปวช. และปวส.

  29. สรุป : กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน

  30. สรุป : กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน

  31. “ หากสามารถดำเนินการและผลักดันยุทธศาสตร์ฯ ให้ประสบผลสำเร็จโดยที่สามารถผลิตกำลังคนและพัฒนาแรงงานปัจจุบันที่อยู่ในภาคอุตสาหกรรมให้มีจำนวนและคุณภาพตามความต้องการแล้ว ปัญหาด้านกำลังคนและแรงงานจะลดความรุนแรงลงและท้ายที่สุดจะเป็นปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยได้”

  32. Thank you.... www.nesdb.go.th

  33. Backup Slide

  34. KEI :East Asian Countries Note: Most recent year refers to 2002 Source: Based on Dahlman, C., (2003), World Bank Knowledge Economy, Products and Strategy: Emerging Lesson, Presentation at PREM Learning Week (April 9), Washington D.C.; Knowledge Assessment Methodology at www.worldbank.org/gdln.kam.htm.

More Related