340 likes | 717 Views
จังหวัดมุกดาหาร. “ หอแก้วสูงเสียดฟ้า ภูผาเทิบแก่งกะเบา แปดเผ่าชนพื้นเมือง ลือเลื่องมะขามหวาน กลองโบราณล้ำเลิศ ถิ่นกำเนิดลำผญา ตระการตาชายโขง เชื่อมโยงอินโดจีน ”. นางธวัลรัตน์ คงรอด เกิดวันที่ 20กันยายน 2514 ที่อยู่ 57 ม.5 ต.บางทรายใหญ่ อ.เมืองมุกดาหาร. อสม.ดีเด่น
E N D
จังหวัดมุกดาหาร “ หอแก้วสูงเสียดฟ้า ภูผาเทิบแก่งกะเบา แปดเผ่าชนพื้นเมือง ลือเลื่องมะขามหวาน กลองโบราณล้ำเลิศ ถิ่นกำเนิดลำผญา ตระการตาชายโขง เชื่อมโยงอินโดจีน ”
นางธวัลรัตน์ คงรอด เกิดวันที่ 20กันยายน 2514 ที่อยู่ 57 ม.5 ต.บางทรายใหญ่ อ.เมืองมุกดาหาร อสม.ดีเด่น สาขาเอดส์ในชุมชน
ด้านการครองตน การฝึกอบรม ปี พ.ศ. 2546 • ผ่านการอบรมการเขียนโครงการพัฒนาชุมชนในระดับพื้นที่กับแกนนำชุมชน ปี พ.ศ. 2547 • ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการให้คำปรึกษาเด็กที่ได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์ • ผ่านการอบรมการเป็นวิทยากรเรื่องโรคติดเชื้อฉวยโอกาสและยาต้านไวรัส • ผ่านการอบรมการเป็นวิทยากรเรื่องผู้ที่อาจมีปัญหาดื้อยาต้านไวรัส
ด้านการครองตน(ต่อ) ปี พ.ศ. 2548 • ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการการให้คำปรึกษาเพื่อส่งเสริมความรู้สึกในคุณค่าของตนเองของหญิงบริการในจังหวัดมุกดาหาร • ร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดกิจกรรมในชุมชน
ด้านการครองตน(ต่อ) ปี พ.ศ. 2549 • ผ่านการอบรมเสริมศักยภาพแกนนำผู้ติดเชื้อเรื่องการทำงานเป็นทีม • ผ่านการอบรมการเป็นวิทยากรการสื่อสารเรื่องเอดส์ใน ชุมชน • ผ่านการอบรมด้านสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน • ผ่านการอบรมด้านสิทธิเด็ก ปี พ.ศ. 2550 • ผ่านการอบรมการสื่อสารเรื่อง เอช ไอ วี สำหรับเด็ก
ด้านการครองตน(ต่อ) การเป็นวิทยากร • เป็นวิทยากรการอบรมแกนนำชุมชนเรื่องการดูแลสุขภาพผู้ติดเชื้อ • เป็นวิทยากรการสื่อสารเรื่องเอดส์ในชุมชน • เป็นวิทยากรเรื่องผู้ที่อาจมีปัญหาดื้อยา • เป็นวิทยากรการอบรมเรื่องโรคติดเชื้อฉวยโอกาส/ยาต้านไวรัส
ด้านการครองคน เป็นแกนนำในการค้นหาปัญหาและการทำแผนงานในชุมชน โดยมีขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้ • สอบถามปัญหาจากผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ในพื้นที่รับผิดชอบ • รับฟังปัญหาผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์หาสาเหตุปัญหาร่วมกันกับผู้ติดเชื้อ • จัดเวทีประชาคมพูดคุยกับผู้นำชุมชนว่าเห็นปัญหาเหมือนกันหรือไม่ • เตรียมชุมชน/กลุ่มเป้าหมาย/คุยทีมร่วมกับผู้นำชุมชน
ด้านการครองคน(ต่อ) • ในการจัดกิจกรรมในพื้นที่ชุมชน คนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมทุกกิจกรรม • หน่วยงานให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานหลายหน่วยงาน เช่น • องค์การบริหารส่วนตำบล • สำนักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) • สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี • มูลนิธิพัฒนาเครือข่ายเอดส์(เอดส์เน็ท) • มูลนิธิเข้าถึงเอดส์
ด้านการครองคน(ต่อ) ในการจัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาทุกครั้งจะมีการสำรวจความคิดเห็นและความต้องการของผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์/ผู้ที่ได้รับผลกระทบ โดยยึดตามเสียงความต้องการในการแก้ไขปัญหาในพื้นที่เป็นหลักโดยมุ่งให้ทุกคนเห็นความสำคัญ เป็นเจ้าของปัญหาร่วมกันและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม
ด้านการครองคน(ต่อ) การประสานงาน • ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์/ผู้ได้รับผลกระทบ • ผู้นำชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน • อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) • องค์การบริหารส่วนตำบล • ครู/โรงเรียน • เจ้าหน้าที่สาธารณสุข • องค์กรอื่นที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนในพื้นที่
ด้านการครองงาน ประวัติการทำงาน • เป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เมื่อ พ.ศ. 2545 - ปัจจุบัน • เป็นเลขานุการกลุ่มสานใจรัก เมื่อ พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน • เป็นคณะกรรมเครือข่ายผู้ติดเชื้อระดับเขต 2 ปี พ.ศ. 2548 - 2549 • เป็นคณะกรรมเครือข่ายผู้ติดเชื้อระดับจังหวัด 2 ปี พ.ศ. 2549 - 2550 • เป็นประธานเครือข่ายผู้ติดเชื้อจังหวัดมุกดาหาร เมื่อ พ.ศ.2550 – ปัจจุบัน
ด้านการครองงาน(ต่อ) ประวัติการทำงาน • เป็นอาสาสมัครงานเอดส์ที่ทำงานร่วมกับองค์กรภาครัฐ/เอกชน เช่น สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมุดาหาร โรงพยาบาลทุกแห่งในจังหวัดมุกดาหาร สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อสม. มูลนิธิสยาม-แคร์ และเครือข่ายผู้ติดเชื้อจังหวัดมุกดาหาร
ด้านการครองงาน(ต่อ) รางวัลที่เคยได้รับ ได้รับรางวัลการเข้าถึงการมีส่วนร่วมของผู้ติดเชื้อจากมูลนิธิเครือข่ายเอดส์แห่งประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ 2547
ด้านการครองงาน(ต่อ) โครงการ/กิจกรรม การดำเนินงานในชุมชน • โครงการมุกดาหารประสานใจแก้ไขปัญหาเอดส์ ปี2545
ด้านการครองงาน(ต่อ) • โครงการสานรักร่วมใจไขปัญหาเอดส์ ปี 2546
จัดซุ้มกิจกรรมความรู้เรื่องโรคเอดส์จัดซุ้มกิจกรรมความรู้เรื่องโรคเอดส์
สาธิตวิธีการใช้ถุงยางอนามัยที่ถูกต้องสาธิตวิธีการใช้ถุงยางอนามัยที่ถูกต้อง
ซุ้มความรู้เรื่องต้านยาไวรัสซุ้มความรู้เรื่องต้านยาไวรัส
กิจกรรมพบกลุ่มผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยกิจกรรมพบกลุ่มผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วย
ด้านการครองงาน(ต่อ) • โครงการร่วมกันปันความรักให้เด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ ปี 2546
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อนมุกดาหารโครงการเพื่อนช่วยเพื่อนมุกดาหาร
ด้านการครองงาน(ต่อ) โครงการ/กิจกรรม การดำเนินงานในชุมชน(ต่อ) • โครงการเข้าถึงการรักษา ปี 2547 ถึงปัจจุบัน
โดยกิจกรรมที่ดำเนินโครงการมีดังนี้โดยกิจกรรมที่ดำเนินโครงการมีดังนี้ • ประสานงานระหว่างทีม 5 ฝ่ายของโรงพยาบาล • จัดตั้งศูนย์บริการแบบองค์รวม • ให้คำปรึกษา
โดยกิจกรรมที่ดำเนินโครงการมีดังนี้โดยกิจกรรมที่ดำเนินโครงการมีดังนี้ • ติดตามเยี่ยมผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ที่บ้าน
ด้านการครองงาน(ต่อ) โครงการ/กิจกรรม การดำเนินงานในชุมชน(ต่อ) • โครงการพัฒนาเครือข่ายผู้ติดเชื้อจังหวัดมุกดาหาร ปี 2548
บทสรุปของการดำเนินงานบทสรุปของการดำเนินงาน ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์/ผู้ได้รับผลกระทบ และคนในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเอดส์เอดส์มากขึ้น ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ กล้าเปิดเผยตัวมากขึ้น ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงมากขึ้น ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ที่เปิดเผยตัวเองก็ได้รับสวัสดิการด้านสังคมจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด้านการครองงาน(ต่อ)
ด้านการครองงาน(ต่อ) บทสรุปของการดำเนินงาน(ต่อ) • มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีสุขภาพกาย สุขภาพจิต ดีขึ้น สามารถอยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างมีความสุข • เกิดเครือข่ายการดำเนินงานของกลุ่มผู้ติดเชื้อในระดับหมู่บ้าน มีโครงการขยายเครือข่ายระดับตำบล อำเภอ และระดับจังหวัด • มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในกลุ่มและมีการประสานการดำเนินงานการให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันระหว่างกลุ่มและเครือข่าย