1 / 17

โดย นางนวลน้อย วงศ์สุคนธ์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.

แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2552-2555 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. โดย นางนวลน้อย วงศ์สุคนธ์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 กรุงเทพฯ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. ตารางที่ 1 จำนวนผู้ป่วยเอดส์ จำแนกรายภาค เขต จังหวัด.

Download Presentation

โดย นางนวลน้อย วงศ์สุคนธ์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2552-2555สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดย นางนวลน้อย วงศ์สุคนธ์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 กรุงเทพฯ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  2. ตารางที่ 1 จำนวนผู้ป่วยเอดส์ จำแนกรายภาค เขต จังหวัด

  3. ตารางที่ 2 จำนวนผู้ป่วยเอดส์ จำแนกตามปีที่เสียชีวิต รายภาค เขต และจังหวัด

  4. ตารางที่ 3 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนของผู้ป่วยเอดส์ จำแนกรายจังหวัด

  5. ตารางที่ 5 ผลการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีผลรวมทั้งประเทศ ภาค กรุงเทพมหานคร และ 4 จังหวัดในสาธารณสุขเขต 1รอบที่ 26 (มิถุนายน 2551)

  6. ความชุกของการติดเชื้อเอชไอวีในชายไทยที่เข้าเป็นทหารประจำการจำแนกตามพื้นที่ที่อาศัยนานที่สุด 2 ปี (พ.ค. 48 – พ.ย. 50)

  7. อัตราการติดเชื้อ HIV ในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัดในเขตรับผิดชอบ ของ สคร.ที่ 1 กรุงเทพฯ ปีงบประมาณ 2549 – 2551 ที่มาของข้อมูล : รายงานการเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่ สำนักระบาดวิทยา(Sero Sentineal Surveillance : SSS)

  8. ผลการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี ในผู้มาฝากครรภ์ใหม่ ของจังหวัดในเขต 1 ที่มาข้อมูล : จากโครงการป้องกันการแพร่เชื้อ HIV จากแม่สู่ลูก ของสำนักส่งเสริม กรมอนามัย เขต 1

  9. ยุทธศาสตร์เอดส์ชาติ 2550-2554 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การบริหารจัดการเพื่อบูรณาการงานเอดส์สู่ภาคส่วนต่างๆ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การบูรณาการการป้องกัน การดูแลรักษา และลดผลกระทบ ต่อผู้ประสบปัญหาเอดส์ ตามประชากรทุกกลุ่มเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ที่ 3 การคุ้มครองสิทธิ์ด้านเอดส์ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การติดตามประเมินผล การศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์

  10. แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2552-2555สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

  11. วิสัยทัศน์จังหวัดตามแผนพัฒนาจังหวัด ปี 2553 : พระนครศรีอยุธยา เป็นนครแห่งการท่องเที่ยวมรดกโลกทางวัฒนธรรม แหล่งอาหารที่มีคุณภาพ เป็นศูนย์กลางการค้า การลงทุน และอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีสะอาด เมืองน่าอยู่ ประชาชนอยู่ดีมีสุขอย่างยั่งยืน เป้าประสงค์รวม1. อนุรักษ์มรดกโลกทางวัฒนธรรมควบคู่กับการพัฒนาเศรษฐกิจใหม่ 2. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ 3. สร้างรายได้/อาชีพ และคุณภาพชีวิตให้แก่ประชาชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 รักษาและใช้ประโยชน์จาก มรดกทางวัฒนธรรมในการ เพิ่มมูลค่าทางการท่องเที่ยว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 อาศัยความอุดมสมบูรณ์ ของพื้นที่ระบบชลประทานที่ดี และเทคโนโลยี ในการพัฒนา แหล่งอาหารที่มีคุณภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ใช้ศักยภาพของการเป็น ศูนย์กลางของการคมนาคม ให้เอื้อประโยชน์ต่อการค้า การลงทุนและอุตสาหกรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างสภาพแวดล้อม ของเมือง/ชุมชนให้น่าอยู่ และเอื้อต่อการพัฒนา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 คุณภาพและประสิทธิภาพ การบริหารจัดการ เป้าประสงค์ประเด็นที่ 1 สร้างรายได้จากการท่องเที่ยว ควบคู่ ไปกับการอนุรักษ์เมืองมรดกโลก เป้าประสงค์ประเด็นที่ 4 สร้างคุณภาพชีวิตให้ดี แก่ประชาชน เป้าประสงค์ประเด็นที่ 5 เสริมสร้างศักยภาพ การบริหารจัดการ เป้าประสงค์ประเด็นที่ 3 เพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันให้กับกิจกรรมทางธุรกิจ เป้าประสงค์ประเด็นที่ 2 การผลิตอาหารที่มีคุณภาพ กลยุทธ์ 1. พัฒนาการผลิตและแปรรูปอาหาร ที่มี คุณภาพปลอดภัย โดยใช้เทคโนโลยี การผลิตเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 2. ส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และพัฒนาระบบสหกรณ์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 3.พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และเพิ่ม ขีดความสามารถในการผลิตและจำหน่าย สินค้าเกษตร 4. เพิ่มประสิทธิภาพสินค้าเกษตรปลอดภัย 5. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการเกษตร กลยุทธ์ 1.ส่งเสริม/พัฒนาอนุรักษ์ทรัพยากรท่องเที่ยว วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 2. ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์และการตลาด และการท่องเที่ยวเมืองมรดกโลก 3.พัฒนาการบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยว รวมทั้งความปลอดภัย 4. พัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน และสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว ให้ได้มาตรฐานสากล 5. พัฒนาขีดความสามารถของชุมชนและอปท. ให้สามารถพัฒนารูปแบบสินค้า และบริการ ท่องเที่ยว เพื่อการสร้างรายได้ให้คุ้มค่า กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมให้เป็นเมืองที่มีความปลอดภัย 2. ส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี 3. ส่งเสริมให้เป็นเมืองสะอาด 4. ส่งเสริมให้เป็นเมืองวัฒนธรรม 5. ส่งเสริมให้เป็นเมืองธรรมาภิบาล กลยุทธ์ 1. พัฒนาและส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางการค้า และการลงทุนในเขตภาคกลางตอนบน 2. พัฒนาการรวมกลุ่มอุตสาหกรรมและส่งเสริม วิสาหกิจชุมชนขนาดกลางและขนาดย่อม และพัฒนาระบบสหกรณ์ 3. พัฒนาระบบสนับสนุนการเพิ่มขีด ความสามารถโดยการพัฒนาทักษะวามรู้ ของบุคลากร กลยุทธ์ 1.พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ และภาคประชาชนอย่างเป็นระบบ 2. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการให้บริการ สาธารณ และสวัสดิการสังคม 3. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  12. วิสัยทัศน์ องค์กรสุขภาพระดับแนวหน้า ตามหลักธรรมาภิบาล

  13. พันธกิจ 1. จัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพในจังหวัด 2. เสริมสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการดูแลระบบสุขภาพแบบองค์รวม ทั้งการ ส่งเสริมสุขภาพอนามัย ป้องกัน ควบคุมโรค รักษาโรคและภัยสุขภาพ ฟื้นฟูสมรรถภาพ ของประชาชน รวมทั้งการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 3. ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพระบบบริการ วิชาการและส่งเสริมนวัตกรรม ด้านสุขภาพ รวมทั้งยกระดับขีดสมรรถนะของบุคลากรทางด้านการแพทย์และ สาธารณสุข 4. ดูแล กำกับ ประเมินผล องค์กรเครือข่าย และสนับสนุนการปฏิบัติงานของภาคี เครือข่ายสุขภาพ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย 5. ส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการระบบสุขภาพตามหลักธรรมาภิบาล

  14. ประเด็นยุทธศาสตร์ • เสริมสร้างและพัฒนาระบบส่งเสริม ควบคุม ป้องกัน บำบัด รักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ • ส่งเสริมและพัฒนาองค์กรเครือข่ายบริการสุขภาพ • ส่งเสริม พัฒนาสมรรถนะบุคลากรองค์กรเครือข่าย บริการสุขภาพ 4. พัฒนาวิชาการและส่งเสริมนวัตกรรมสุขภาพ

  15. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (Strategic Route Map:SRM)งานเอดส์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 กรุงเทพฯ (4 ปี) ภายในปี 2556 สร้างเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2553 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถดูแลสุขภาพตนเองและมีส่วนร่วมในการป้องกัน ควบคุมโรคของชุมชนได้ ชุมชนมีและใช้มาตรการทางสังคม ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองและชุมชนได้ ชุมชนมีส่วนร่วมเฝ้าระวังโรคพฤติกรรมเสี่ยง สิ่งแวดล้อมด้านสุขภาพและสังคม ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม ประชาชนมีส่วนร่วมป้องกันควบคุมโรคได้ด้วยตนเอง ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ประชาชน ภาคี ภาคสังคม (อสม. แกนนำ สื่อมวลชน ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน) สนับสนุนการขับเคลื่อนงาน หน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข สนับสนุนวิชาการ ประสานงาน และบูรณาการนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ภาคการเมือง/อปท.ขับเคลื่อนงาน และสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง องค์กรอิสระ/องค์กรเอกชน/ภาคธุรกิจ/องค์กรระหว่างประเทศ สนับสนุนงานวิชาการและทรัพยากร ระบบพัฒนาบริการ/มาตรฐาน/หลักเกณฑ์/รูปแบบการดำเนินงานเฝ้าระวัง ดูแล รักษาป้องกัน ควบคุมโรค ระบบการสื่อสารสาธารณะที่ครอบคลุมกลุ่มเสี่ยงและเข้าถึงง่าย กลไกการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ครอบคลุมทุกระดับ ระบบการติดตามและประเมินผลคุณภาพกระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ การจัดการความรู้และ นวตกรรมของเครือข่ายที่เชื่อมโยงมีประสิทธิภาพ ระบบการพัฒนาองค์ความรู้/เทคโนโลยี ด้านการป้องกัน ควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ การบริหารจัด การทรัพยากรและเครือข่าย/ติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการ รากฐาน ระบบข้อมูลที่ครอบคลุม ถูกต้องครบถ้วน เชื่อมโยง และเป็นปัจจุบัน บุคลากรและแกนนำเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีสมรรถนะตามที่องค์กรกำหนด องค์กร/ทีมงานมีวัฒนธรรมการทำงานเป็นทีม มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงานและมีระบบแรงจูงใจที่ดี

  16. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (Strategic Linkage Model:SLM)งานเอดส์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 กรุงเทพฯ สร้างเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2553 ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถดูแลสุขภาพตนเองและมีส่วนร่วมในการป้องกัน ควบคุมโรคของชุมชนได้ ประชาชน ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถเข้าถึงการคุ้มครองสิทธิด้านการป้องกันดูแล รักษา ที่ครอบคลุมอย่างต่อเนื่อง ชุมชนมีส่วนร่วมเฝ้าระวังโรคพฤติกรรมเสี่ยง สิ่งแวดล้อมด้านสุขภาพและสังคม ภาคี หน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข สนับสนุนวิชาการ ประสานงาน และบูรณาการนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม อปท.ขับเคลื่อนงาน และสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง เครือข่ายสุขภาพชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานด้านสุขภาพ ระบบการสื่อสารสาธารณะ/จัดการความรู้/นวตกรรมที่ครอบคลุมกลุ่มเสี่ยงและเข้าถึงง่าย ระบบบริการ/องค์ความรู้เทคโนโลยี/มาตรฐาน/รูปแบบการเฝ้าระวัง ดูแลรักษา ป้องกัน ควบคุมโรคและเครือข่ายที่เชื่อมโยงมีประสิทธิภาพ การบริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่าย การติดตามและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการ องค์กร/ทีมงานมีวัฒนธรรมการทำงานเป็นทีม มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงานและมีระบบแรงจูงใจที่ดี รากฐาน ระบบข้อมูลที่ครอบคลุม ถูกต้องครบถ้วน เชื่อมโยง และเป็นปัจจุบัน บุคลากรและแกนนำเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีสมรรถนะตามที่องค์กรกำหนด

  17. สวัสดีค่ะ…

More Related