1 / 27

การดำเนินการทางวินัย อาญา และความรับผิดทางละเมิด กรณีมีการทุจริตและประพฤติมิชอบ

การดำเนินการทางวินัย อาญา และความรับผิดทางละเมิด กรณีมีการทุจริตและประพฤติมิชอบ. ระเบียบ สร.ว่าด้วยการเร่งรัด ติดตาม เกี่ยวกับกรณีเงินขาดบัญชี หรือ เจ้าหน้าที่ของรัฐทุจริต พ.ศ.2546 1. สตง.ตรวจพบเงินขาดบัญชี/จนท.

mauve
Download Presentation

การดำเนินการทางวินัย อาญา และความรับผิดทางละเมิด กรณีมีการทุจริตและประพฤติมิชอบ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินการทางวินัย อาญา และความรับผิดทางละเมิด กรณีมีการทุจริตและประพฤติมิชอบ

  2. ระเบียบ สร.ว่าด้วยการเร่งรัด ติดตาม เกี่ยวกับกรณีเงินขาดบัญชี หรือ เจ้าหน้าที่ของรัฐทุจริต พ.ศ.2546 1. สตง.ตรวจพบเงินขาดบัญชี/จนท. ของรัฐทุจริต และชี้มูลความผิดแล้ว ไม่ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวน ข้อเท็จจริงอีก 2. ให้ดำเนินการทางแพ่ง/อาญา/วินัย

  3. 3.เมื่อตรวจพบเงินขาดบัญชี/จนท.3.เมื่อตรวจพบเงินขาดบัญชี/จนท. ของรัฐทุจริต ให้รายงาน (ตามแบบ) - สนง.ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี - กรมบัญชีกลาง - สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน 4. แจ้งผลการดำเนินการให้ สนง. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ทุกระยะ 4 เดือน หรือเมื่อมีผลความคืบหน้า

  4. การดำเนินการทางวินัย

  5. พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการ พลเรือน พ.ศ.2535

  6. มาตรา 82 ว.1 ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความ ซื่อสัตย์ สุจริต และเที่ยงธรรม ว.2 ต้องไม่อาศัยหรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยอำนาจหน้าที่ ราชการของตน หาประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น ว.3 การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ โดยมิชอบ เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ ที่มิควรได้ เป็นการทุจริตต่อหน้าที่ราชการ และเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง

  7. กา รมาตรา 85 -ต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรีและนโยบาย ของรัฐบาล โดยไม่ให้เสียหายแก่ราชการ - การจงใจไม่ปฏิบัติตามวรรคหนึ่งอันเป็น เหตุให้เสียหายอย่างร้ายแรง เป็นความผิด วินัยอย่างร้ายแรง

  8. การมาตรา 98 ว.1 ต้องไม่กระทำการใดๆ อันได้ชื่อว่าเป็น ผู้ประพฤติชั่ว ว.2 การกระทำความผิด ทางอาญาจนได้รับโทษ จำคุกหรือที่หนักกว่าจำคุก โดยคำพิพากษา ถึงที่สุด เว้นแต่ 1. โทษที่ได้กระทำโดยประมาท 2. ความผิดฐานลหุโทษ หรือการกระทำอื่นใดอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง เป็นความผิดวินัย อย่างร้ายแรง

  9. โทษทางวินัยมี 5 สถาน กรณีไม่ร้ายแรง 1.ภาคทัณฑ์ 2. ตัดเงินเดือน/ตัดค่าจ้าง 3. ลดขั้นเงินเดือน/ลดขั้นค่าจ้าง กรณีร้ายแรง 1. ปลดออก 2. ไล่ออก

  10. มติ ค.ร.ม.วันที่ 21 ธ.ค.2536 (นร 0205/ว 234 ลว. 24 ธค.2536) - การลงโทษผู้กระทำผิดวินัยฐานทุจริต ควรลงโทษเป็นไล่ออกจากราชการ - การนำเงินที่ทุจริตไปแล้วมาคืน หรือ มีเหตุอันควรปรานีอื่นใด ไม่เป็นเหตุ ลดหย่อนโทษเป็นปลดออกจากราชการ

  11. การดำเนินคดีอาญา

  12. การดำเนินคดีอาญาเมื่อมีกรณีทุจริตการดำเนินคดีอาญาเมื่อมีกรณีทุจริต 1. แจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน คสป.ที่ 2549/2544 ลว. 25 ตค.2544 มอบอำนาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ปฏิบัติราชการแทน (ด้านคดี) โดยให้ แจ้งความร้องทุกข์และกล่าวโทษกรณี เกิดการทุจริต/เสียหายแก่ทรัพย์สิน ของ สป.ที่เกิดขึ้นภายในจังหวัด

  13. 2. จะแจ้งความร้องทุกข์ฯ เมื่อ - สอบสวนหลักฐานและข้อเท็จจริง ให้ประจักษ์เสียก่อน - เมื่อมีหลักฐานไปในทางทุจริตอันจะเป็น ความผิดต่ออาญาแผ่นดิน (หนังสือที่ นว 16/2486 ลว 23 มกราคม 2486)

  14. 3. จนท.ของรัฐ กระทำความผิดฐานทุจริต ต่อหน้าที่/กระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ ราชการ/ตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม ขณะที่ถูกกล่าวหาเป็น จนท.ของรัฐ หรือ พ้นตำแหน่งไม่เกิน 2 ปี ผู้มีอำนาจไต่สวน คือ คณะกรรมการ ป.ป.ช. (ม.84 พรบ.ปปช.) 4. กรณีตามข้อ 2. หากมีการแจ้งความต่อ พนักงานสอบสวน ให้พนักงานสอบสวน ส่งเรื่องไปยังคณะกรรมการ ป.ป.ช. ภายใน 30 วัน(ม.89 พรบ.ปปช.)

  15. ความรับผิดทางละเมิด

  16. พ.ร.บ.ความรับผิด ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539

  17. ประมาท 1. การกระทำ ที่มิได้กระทำโดยเจตนา 2. แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจะต้องมี ตามวิสัยและพฤติการณ์ 3. และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวัง เช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่

  18. ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง 1. มีลักษณะไปในทางที่บุคคลนั้น ได้กระทำไป โดยขาดความระมัดระวัง 2. ที่เบี่ยงเบนไปจากเกณฑ์มาตรฐานอย่างมาก เช่น พึงคาดเห็นได้ว่าความเสียหายอาจเกิดขึ้นได้ หรือ หากระมัดระวังสักเล็กน้อย ก็คงคาดเห็น การอันอาจเกิดความเสียหายเช่นนั้น (ที่ นร 0601/87 ลงวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2540)

  19. คำนิยาม ตาม พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดฯ 1. เจ้าหน้าที่ หมายถึง - ข้าราชการ/พนักงาน/ลูกจ้าง - ผู้ปฏิบัติงานประเภทอื่น ไม่ว่าจะแต่งตั้ง ในฐานะกรรมการ หรือฐานะอื่นใด 2. หน่วยงานของรัฐ หมายถึง - กระทรวง/ทบวง/กรม/ส่วนราชการอื่น - ราชการภูมิภาค/ราชการท้องถิ่น/รัฐวิสาหกิจ - หน่วยงานอื่นของรัฐที่พระกฤษฎีกากำหนดไว้

  20. สาระสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตสาระสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการทุจริต (บังคับใช้ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2539) 1.การละเมิดที่ จนท.ได้กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ กรณีทำให้หน่วยงานของรัฐเสียหาย (1) ประมาทเลินเล่อไม่ร้ายแรง - จนท.ไม่ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน (2) จงใจ/ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง - จนท. ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน

  21. 2.การละเมิดที่ จนท. มิใช่กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ กรณีทำให้หน่วยงานของรัฐเสียหาย (1) จนท. ต้องรับผิดชดใช้ ตามหลัก ป.พ.พ. (2) ต้องรับผิดทุกกรณี ทั้ง ประมาทเลินเล่อไม่ร้ายแรง และจงใจ/ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

  22. 3. การเรียกให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือการไล่เบี้ย (กรณีจงใจ หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง) (1) กรณีกระทำละเมิดหลายคน ไม่ใช้หลักลูกหนี้ร่วม (2) ไม่ต้องชดใช้เต็มจำนวนก็ได้ จะมีเพียงใดให้คำนึงถึง - ระดับความร้ายแรงในการกระทำ และ - ความเป็นธรรม ในแต่ละกรณีเป็นเกณฑ์ (3) การหักส่วนความรับผิดออกด้วย กรณีเกิดจาก - ความผิด/ความบกพร่อง ของหน่วยงานของรัฐ - ระบบการดำเนินงานส่วนรวม

  23. กา กรณี จนท.ของรัฐทุจริตยักยอกเงิน 1.การฟ้องเรียกค่าเสียหายจากผู้ทุจริต/ ผู้บังคับบัญชาที่ละเลยไม่ตรวจสอบควบคุม การปฏิบัติงานของ จนท.ผู้ทุจริตยักยอก/ ทายาทโดยธรรมของ จนท.ที่ตายไปแล้ว อยู่ในเขตอำนาจของศาลปกครอง เพราะ เป็นคดีละเมิดอันเกิดจากการใช้อำนาจหน้าที่ ตามกฎหมาย ตาม ม.9(3) พ.ร.บ.จัดตั้ง ศาลปกครองฯ พ.ศ.2542 (คำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล ที่ 2/2547 และที่ 10/2547)

  24. กา 2. หน่วยงานของรัฐ ไม่มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาล ต่อศาลปกครอง โดยให้ใช้มาตรการทาง ปกครอง โดยยึดหรืออายัดทรัพย์สินขาย ทอดตลาด ตามมาตรา 57 แห่ง พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 3. แม้ผู้ทุจริต/ผบ. จะออกจากราชการ ไปแล้ว ก็ออกคำสั่งให้ชดใช้เงิน และ ดำเนินการตามข้อ 2. ได้ (คำสั่งศาลปกครองสูงสูด ที่ 154/2547 ที่ 242/2547 ที่ 687/2547)

  25. กา 4. กระทำะเมิดก่อน 15 พย.2539 แต่สอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด และออกคำสั่งเรียกให้ชดใช้เมื่อปี 2545 ก็ถือว่าเป็นคำสั่งทางปกครอง (คำสั่งศาลปกครองสูงสูด ที่ 331/2546 เทศบาลเมืองชลบุรี ผู้ฟ้องคดี) 5. การฟ้องทายาท/กองมรดก ของ จนท.ที่ตาย ให้รีบฟ้อง ภายใน 1 ปี ตามอายุความมรดก 6. อายุความในการยึด/อายัดทรัพย์สิน 10 ปี

  26. สรุปความรับผิดของข้าราชการที่ทุจริตเงินราชการสรุปความรับผิดของข้าราชการที่ทุจริตเงินราชการ 1. ทางอาญา - มีโทษจำคุก 5-20 ปี/ตลอดชีวิต - อำนาจไต่สวนโดย ป.ป.ช. 2. ทางแพ่ง/ทางละเมิด - ผู้จริต ชดใช้เต็มจำนวนที่ทุจริตไป 3. ทางวินัยข้าราชการ - ไล่ออก 4. ทางวินัยทางงบประมาณและการคลัง - โทษปรับทางปกครอง จนท. ปรับ 5-8 เท่าของเงินเดือน ผบ. ปรับ 9-12 เท่าของเงินเดือน

  27. สวัสดี

More Related