1 / 75

1. ความสำคัญของงบลงทุน

10 - 3. บทที่ 10 งบลงทุน. 1. ความสำคัญของงบลงทุน. 2. แนวความคิดทำให้เกิดโครงการลงทุน. 3. การจำแนกโครงการลงทุน. 4. การประเมินโครงการลงทุนคล้ายกับ การประเมินราคาหลักทรัพย์. 10 - 4. 5. วิธีการประเมินโครงการลงทุน - ระยะเวลาคืนทุน ( PB ) - ระยะเวลาคืนทุนโดยคิดเป็น

mateja
Download Presentation

1. ความสำคัญของงบลงทุน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 10 - 3 บทที่ 10 งบลงทุน 1. ความสำคัญของงบลงทุน 2. แนวความคิดทำให้เกิดโครงการลงทุน 3. การจำแนกโครงการลงทุน 4. การประเมินโครงการลงทุนคล้ายกับ การประเมินราคาหลักทรัพย์

  2. 10 - 4 5. วิธีการประเมินโครงการลงทุน - ระยะเวลาคืนทุน ( PB ) - ระยะเวลาคืนทุนโดยคิดเป็น มูลค่าปัจจุบัน ( DPB ) - มูลค่าปัจจุบันสุทธิ ( NPV ) - อัตราผลตอบแทนของโครงการ ( IRR )

  3. 10 - 5 6. การเปรียบเทียบวิธี NPV และวิธี IRR 7. วิธีอัตราผลตอบแทนของโครงการ ที่ปรับปรุงใหม่ ( MIRR ) 8. สรุปวิธีต่างๆในการประเมินโครงการลงทุน 9. การนำไปใช้ในแวดวงธุรกิจ 10. การตรวจสอบติดตามผล 11. การใช้เทคนิคของงบลงทุนเพื่อการ ตัดสินใจในด้านอื่น

  4. 10 - 6 1. ความสำคัญของงบลงทุน 1. การตัดสินใจจะมีผลต่อเนื่องในอนาคต หลายปี เข้าทำนองคำพังเพยโบราณ “ แต่งงานผิดคิดจนตัวตาย ปลูกเรือนผิดคิดจนเรือนทลาย ” 2. การตัดสินใจขึ้นอยู่กับการพยากรณ์ยอด ขายในระยะยาว

  5. 10 - 7 3. การตัดสินใจเรื่องงบลงทุนจะใช้เป็นตัวกำหนด ทิศทางในเชิงกลยุทธ์ของบริษัท ผลของการ พยากรณ์ความต้องการสินทรัพย์ผิด ถ้าลงทุน มากเกินไปทำให้ต้องจ่ายเงินมาก มีค่าเสื่อมราคา และค่าใช้จ่ายในการผลิตต่างๆ ตามมาอีกมาก ถ้าลงทุนน้อยเกินไปจะเกิดปัญหา 2 กรณี คือ - เครื่องจักรไม่เพียงพอผลิตสินค้าขาย - กำลังการผลิตไม่เพียงพอ ทำให้เสียส่วนแบ่งตลาด

  6. 10 - 8 4. ต้องใช้เวลาขยายหรือดำเนินงานตามโครงการ ถ้าบริษัทรอให้ปริมาณการขายเพิ่มขึ้นก่อน แล้วจึงลงทุนในเครื่องจักรเพิ่มขึ้นอาจจะช้าเกินไป ต้องตัดสินใจลงทุนล่วงหน้า โดยพยายามพยากรณ์ ยอดขายล่วงหน้าให้ถูกต้อง

  7. 10 - 9 2. แนวความคิดทำให้เกิดโครงการลงทุน การเติบโตของกิจการ ความสามารถในการแข่งขัน การคิดค้นผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ การปรับปรุงผลิตภัณฑ์เดิมให้มีคุณภาพดีขึ้น การดำเนินงานที่ทำให้ต้นทุนลดลง

  8. 10 - 10 ถ้ากิจการมีผู้บริหารและพนักงานซึ่งมี วิสัยทัศน์และความสามารถ ประกอบกับการ ที่บริษัทมีระบบการจูงใจ โดยให้ผลตอบแทนที่ เหมาะสมแล้ว ก็จะเกิด แนวความคิดต่างๆ เกี่ยวกับ โครงการลงทุนได้มากมาย

  9. 10 - 11 3. การจำแนกโครงการลงทุน 1. โครงการใหม่ทดแทนโครงการเก่าที่หมดอายุ 2. โครงการใหม่ทดแทนโครงการเก่าเพื่อลดต้นทุน 3. โครงการขยายผลิตภัณฑ์เดิม 4. โครงการขยายผลิตภัณฑ์ใหม่ 5. โครงการเพื่อความปลอดภัยและรักษาสิ่งแวดล้อม 6. โครงการอื่น ๆ

  10. 10 - 12 4. “ การประเมินโครงการลงทุน ” คล้ายกับ “ การประเมินมูลค่าหลักทรัพย์ ” การประเมินโครงการลงทุน การประเมินมูลค่าหลักทรัพย์ กับ บทที่ 7 และบทที่ 8 บทที่ 10, 11 และ 12 มีขั้นตอนเหมือนกันทุกอย่าง จุดสำคัญ คือ การหาค่ามูลค่าปัจจุบัน

  11. 10 - 13 5. วิธีการประเมินโครงการลงทุน 5.1 ระยะเวลาคืนทุน ( Payback Period : PB ) 5.2 ระยะเวลาคืนทุนโดยคำนึงถึงมูลค่าปัจจุบัน ( Discounted Payback Period : DPB ) 5.3 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ ( Net Present Value : NPV )

  12. 10 - 14 5.4 อัตราผลตอบแทนของโครงการ ( Internal Rate of Return : IRR ) 5.5 อัตราผลตอบแทนของโครงการที่ ปรับปรุงใหม่ ( Modified Internal Rate of Return : MIRR )

  13. 10 - 15 5.1 ระยะเวลาคืนทุน ( PB ) วิธีนี้ประเมินว่าเมื่อลงทุนในโครงการแล้ว ใช้ระยะเวลานานเท่าไรจึงจะได้รับทุนคืน ตัวอย่าง โครงการ S และ โครงการ L ใช้เงินลงทุน เท่ากัน อายุโครงการ 4 ปี มีกระแสเงินสดสุทธิ ( หลังภาษี ) ดังนี้

  14. 10 - 16 ปี โครงการ S โครงการ L 0 - 1,000 - 1,000 1 500 100 2 400 300 3 300 400 4 100 600

  15. 10 - 17 โครงการ S 0 1 2 3 4 -1,000 500 400 300 100 โครงการ L 0 1 2 3 4 -1,000 100 300 400 600

  16. 10 - 18 กระแสเงินสดส่วนที่เหลือ กระแสเงินสดทั้งปี ระยะเวลา จำนวนปี คืนทุน ก่อนคืนทุน = + โครงการ S คืนทุน = 2 + ( 100 / 300 ) = 2. 33 ปี = 2 ปี 4 เดือน โครงการ L คืนทุน 3.33 ปี = 3 ปี 4 เดือน

  17. 10 - 19 เกณฑ์ในการตัดสินใจ กรณีเลือกโครงการเดียว : ถ้าเป็นโครงการที่ทดแทนกันได้ จะเลือก โครงการที่คืนทุนได้เร็วกว่า คือ โครงการ S กรณีเลือกได้ทุกโครงการ : ( เงินทุนไม่จำกัด ) เลือกโครงการที่ระยะเวลาคืนทุนน้อยกว่า เกณฑ์ที่กำหนดไว้ เช่น กำหนดระยะเวลาคืน ทุนไม่เกิน 3 ปี จะเลือกโครงการ S ปฏิเสธ L

  18. 10 - 20 ประเภทของโครงการลงทุน 1. โครงการที่ทดแทนกันได้ ( mutually exclusive projects ) จะตัดสินใจเลือก ลงทุนเพียงโครงการเดียวที่คิดว่าดีที่สุด 2. โครงการที่เป็นอิสระต่อกัน ( independent projects ) จะตัดสินใจเลือกลงทุนได้ทุก โครงการที่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้

  19. 10 - 21 3. โครงการที่พึ่งพากัน ( dependent projects ) เลือก ก. ต้อง เลือก ข. ด้วย ไม่เลือก ข. ไม่เลือก ก.

  20. 10 - 22 ข้อดี 1. คำนวณง่าย ทราบว่าลงทุนแล้วจะ คืนทุนเมื่อไร โครงการที่คืนทุนเร็วจะมี สภาพคล่องมาก 2. ทราบความเสี่ยงของโครงการเบื้องต้น ยึดหลักความปลอดภัยของเงินลงทุน ( คืนทุนเร็วย่อมปลอดภัยกว่าคืนทุนช้า )

  21. 10 - 23 ข้อเสีย 1. ไม่คำนึงถึงมูลค่าของเงินตามเวลา การลงทุนจ่ายเงินปี 0 แต่ผล ประโยชน์จะทยอยตามมา 2. ไม่สนใจกระแสเงินสดที่เกิด ขึ้นหลังจากที่คืนทุนแล้ว

  22. 10 - 24 5.2 ระยะเวลาคืนทุนโดยคิดเป็นมูลค่าปัจจุบัน ( DPB ) วิธีนี้จะซื้อลดกระแสเงินสดใน อนาคตเป็นมูลค่าปัจจุบันด้วยต้นทุน ของเงินทุน ( WACC ) 10 % แล้วใช้วิธีการเดิมหาระยะเวลาคืนทุน

  23. 10 - 25 โครงการ S 0 1 2 3 4 กระแสเงินสดสุทธิ PV ของ NCF - 1,000 500 400 300 100 - 1,000 454.55 330.58 225.39 68.30 โครงการ L 0 1 2 3 4 - 1,000 100 300 400 600 - 1,000 90.91 247.93 300.52 409.81 กระแสเงินสดสุทธิ PV ของ NCF

  24. 10 - 26 โครงการ ระยะเวลาคืนทุน S 2 + ( 214 / 225 ) = 2. 95 ปี L 3 + ( 360 / 410 ) = 3. 88 ปี การตัดสินใจ เลือกโครงการ S เหมือนเดิม

  25. 10 - 27 5.3 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ ( NPV ) การประเมินโครงการวิธีนี้จะคิดมูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงินสดรับและจ่ายเปรียบเทียบกัน NPV = PV กระแสเงินสดรับ - PV กระแสเงินสดจ่าย = CF1 CF2 CFn CF0 + + + …… + ( 1 + k )1 ( 1 + k )2 ( 1 + k )n n t = 0 ( 1 + k )n = CFt

  26. 10 - 28 CF0 = เงินลงทุนเริ่มแรก CFt = กระแสเงินสดสุทธิปี t k = ต้นทุนของเงินทุนของโครงการ

  27. 10 - 29 โครงการ S 0 1 2 3 4 กระแสเงินสด - 1,000 500 400 300 100 454.55 330.58 225.39 68.30 78.82 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ

  28. 10 - 30 NPVS = - 1,000 + 500 + 400 + 300 + 100 ( 1.10 )1 ( 1.10)2 ( 1.10 )3 ( 1.10)4 = - 1,000 + 500 ( 0. 91 ) + 400 ( 0. 83 ) + 300 ( 0. 75 ) + 100 ( 0. 68 ) = 78. 82 บาท

  29. 10 - 31 โครงการ L - 1,000 100 300 400 600 10 CFi CFi CFi CFi i NPV EXE CFi มูลค่าปัจจุบันสุทธิ = 49. 18 บาท

  30. 10 - 32 เกณฑ์ในการตัดสินใจ NPV = 0 หมายความว่า อัตราผลตอบแทน ของโครงการเท่ากับต้นทุนของ เงินทุนพอดี คือ 10 % NPV = + หมายความว่า ลงทุนแล้วมีผลกำไร หรือ โครงการนั้นทำให้มูลค่าของกิจการเพิ่มขึ้น

  31. 10 - 33 1. ถ้าเป็นโครงการที่ทดแทนกันได้ จะเลือกโครงการที่ให้ NPV สูงกว่า ตามตัวอย่างคือ โครงการ S 2. ถ้าโครงการต่างเป็นอิสระกัน ( เงินทุนไม่จำกัด ) จะเลือกโครงการ ที่ให้ NPV เป็นบวก คือ ลงทุนได้ทั้ง โครงการ S และโครงการ L

  32. 10 - 34 5.4 อัตราผลตอบแทนของโครงการ ( IRR ) การประเมินโครงการวิธีนี้จะหาอัตรา ส่วนลด ( discount rate ) ที่ทำให้ผลรวม มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดในอนาคต เท่ากับเงินลงทุนเริ่มแรก ( คือ อัตราส่วนลดที่ NPV เท่ากับ 0 )

  33. 10 - 35 CF1 CF2 CFn CF0 = + + ………… + ( 1 + IRR )1 ( 1 + IRR )2 ( 1 + IRR )n โครงการ S 500 400 300 100 1,000 = + + + ( 1 + IRR )1 ( 1 + IRR )2 ( 1 + IRR )3 ( 1 + IRR )4

  34. 10 - 36 โครงการ S 0 1 2 3 4 IRR CF - 1,000 500 400 300 100 1,000 ผลรวม PV CF1-4 IRR S = 14.5 % 0 NPV

  35. 10 - 37 วิธีที่ง่ายที่สุดใช้ Financial Calculator - 1,000 500 400 300 100 CFj CFj CFj CFj IRR EXE CFj IRR S = 14.5 % IRR = 11. 8 % โครงการ L

  36. 10 - 38 เกณฑ์ในการตัดสินใจ 1. IRR ของโครงการ คือ อัตราผลตอบแทน ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการนั้น 2. โครงการที่ให้ IRR = ต้นทุนของเงินทุน โครงการนั้นให้อัตราผลตอบแทน เท่ากับต้นทุนของเงินทุนด้วย

  37. 10 - 39 3. โครงการที่ให้ IRR > ต้นทุนของเงินทุน โครงการ นั้นให้อัตราผลตอบแทนมากกว่าต้นทุนของเงินทุน 4. จะเลือกโครงการที่ให้ IRR > ต้นทุนของเงินทุน ปฏิเสธโครงการที่ให้ IRR < ต้นทุนของเงินทุน 5. กรณีที่เป็นโครงการที่ทดแทนกันได้ จะเลือกลงทุน โครงการที่ให้ IRR สูงกว่า กรณีโครงการ S และโครงการ L : รับโครงการ S

  38. 10 - 40 6. เปรียบเทียบวิธี NPV และวิธี IRR 1. NPV Profiles คือ กราฟแสดงความสัมพันธ์ ระหว่าง NPV ของโครงการกับ ต้นทุนของเงินทุนของกิจการ ( ซึ่งใช้เป็นอัตราส่วนลด ในการคำนวณ NPV )

  39. 10 - 41 NPV โครงการ S และ L กับต้นทุนของเงินทุน NPV Project L, s Net Present Value Profile 400 300 Project S, s Net Present Value Profile Crossover Rate = 7.2% 200 100 IRRS = 14.5 % 0 Cost of Capital ( % ) 5 7.2 10 15 -100 IRRL = 11.8 %

  40. 10 - 42 IRR คือ อัตราส่วนลดที่ทำให้ NPV ของ โครงการมีค่าเท่ากับศูนย์ ตามรูป ดังนั้น จุดที่เส้น NPV Profile ตัดกับแกนนอน คือ IRR ของโครงการนั่นเอง

  41. 10 - 43 2. การจัดอันดับ NPV จะขึ้นอยู่กับ ต้นทุนของเงินทุน จากรูป อัตราส่วนลด 5 % NPVS < NPVL อัตราส่วนลด 7.2 % NPVS = NPVL== > Crossover Rate อัตราส่วนลด 10 % NPVS > NPVL

  42. 10 - 44 สรุปข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้น (1) ถ้าอัตราส่วนลดสูงกว่า crossover rate เช่น 10 % ไม่ว่าจะใช้วิธี NPV หรือ IRR ก็จะเลือกโครงการ S ทั้งคู่ (2) ถ้าอัตราส่วนลดต่ำกว่า crossover rate เช่น 5 % วิธี NPV จะเลือกโครงการ L ( NPVS < NPVL ) แต่วิธี IRR จะเลือกโครงการ S เหมือนเดิม (IRRS > IRRL เสมอไม่ว่าอัตราส่วนลดจะเป็นเท่าใด)

  43. 10 - 45 (3) วิธี NPV นั้น การตัดสินใจ เลือกโครงการอาจเปลี่ยน แปลงได้ขึ้นอยู่กับอัตราส่วน ลด แต่วิธี IRR การตัดสินใจ ไม่เปลี่ยนแปลง

  44. 10 - 46 3. โครงการที่เป็นอิสระต่อกัน ( Independent Projects ) วิธี NPV และ IRR ตัดสินใจไม่ขัดแย้งกัน

  45. 10 - 47 1. รับโครงการได้ทั้ง S และ L ถ้าต้นทุนของ เงินทุนต่ำกว่า IRR ( NPV เป็นบวกทั้ง 2 โครงการ ) 2. ถ้าต้นทุนของเงินทุนสูงกว่า IRR จะปฏิเสธทั้งโครงการ S และ L

  46. 10 - 48 4. โครงการที่ทดแทนกันได้ ( Mutually Exclusive Projects ) 1. เมื่ออัตราส่วนลดสูงกว่า crossover rate เช่น 10 % ไม่ว่าจะใช้วิธี NPV หรือ IRR ก็จะเลือกโครงการ S ทั้งคู่

  47. 10 - 49 2. ถ้าอัตราส่วนลดต่ำกว่า Crossover Rate เช่น 5 % วิธี NPV จะเลือกโครงการ L ( NPVL> NPVS ) แต่วิธี IRR จะเลือก โครงการ S เหมือนเดิม ( IRRS > IRRL เสมอ ไม่ว่าอัตราส่วนลดจะเป็นเท่าใด ) L

  48. 10 - 50 3. กรณีดังกล่าวใช้ NPV ดีกว่า เพราะทราบว่า เลือกแล้วผู้ถือหุ้นมั่งคั่งอย่างไร วิธี NPV นั้น การตัดสินใจเลือกโครงการอาจเปลี่ยน แปลงได้ขึ้นอยู่กับอัตราส่วนลด แต่วิธี IRR การตัดสินใจไม่เปลี่ยนแปลง

  49. 10 - 51 การเปรียบเทียบวิธี NPV และ IRR ข้อสมมติต่างกัน 1. วิธี NPV สมมติว่าเงินสดที่โครงการได้รับมาใน ปีแรกๆจะนำไปลงทุนต่อจนกว่าจะสิ้นสุดโครงการ โดยได้รับผลตอบแทนเท่ากับต้นทุนของเงินทุน 2. วิธี IRR สมมติว่าเงินสดที่โครงการได้รับมาใน ปีแรกๆจะนำไปลงทุนต่อจนกว่าจะสิ้นสุดโครงการ โดยได้รับผลตอบแทนเท่ากับอัตรา IRR

  50. 10 - 52 สรุป ข้อสมมติ NPV เหมาะสมกว่า 1. กรณีโครงการที่เป็นอิสระกัน ไม่ว่า จะใช้วิธี NPV หรือวิธี IRR จะมีผล ต่อการตัดสินใจเหมือนกัน 2. กรณีเป็นโครงการที่ทดแทนกันได้ ขนาดและ ระยะเวลาของกระแสเงินสดโครงการต่างกัน ควรใช้วิธี NPV ในการประเมินโครงการ

More Related