1 / 13

ระบบจำนวนจริง( Real Number )

ระบบจำนวนจริง( Real Number ). สำหรับ a , b , c ที่เป็นจำนวนจริง. 1. a +b เป็นจำนวนจริง มีสมบัติปิดการบวก. 2. (a+b )+c = a+(b+c ) มีสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้. 3. a+ 0 = a มีเอกลักษณ์การบวก คือ 0. 4. a+(-a)=0 มีอินเวอร์สการบวกคือ - a.

Download Presentation

ระบบจำนวนจริง( Real Number )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบจำนวนจริง(Real Number) สำหรับ a , b, c ที่เป็นจำนวนจริง 1. a+b เป็นจำนวนจริง มีสมบัติปิดการบวก 2.(a+b)+c = a+(b+c) มีสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ 3. a+0 = a มีเอกลักษณ์การบวก คือ 0 4. a+(-a)=0 มีอินเวอร์สการบวกคือ -a ระบบที่มีสมบัติทั้งสี่ เรียกว่า กรุ๊ปกับการบวก (Group)

  2. ระบบจำนวนจริง(Real Number) สำหรับ a , b, c ที่เป็นจำนวนจริง 1. axb เป็นจำนวนจริง มีสมบัติปิดการคูณ 2. ax(bxc)=(axb)xc มีสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ 3. ax1 = a มีเอกลักษณ์การคูณ คือ 1 ระบบที่มีสมบัติทั้งสี่ เรียกว่า กรุ๊ปกับการคูณ (Group)

  3. ระบบจำนวนเชิงซ้อน(Complex Number) Complex Im(Z) Imagine Axis Real Real AxisRe(Z)

  4. i คือ (0,1)และ i2 = -1 Z=a+ib I (a,b) |Z| b i R a

  5. กราฟของสมการ y= x2+1 จงหาคำตอบสมการของ x2+1=0 พบว่า ไม่มีคำตอบที่เป็นจำนวนจริง เพราะ x2= -1หาค่า xอยู่ใน Rไม่มี นักคณิตศาสตร์จึงพยายาม หาคำตอบโดยนิยามให้ i2= -1 โดย i อยู่ใน C

  6. ระบบจำนวนเชิงซ้อนที่นิยามขึ้นมาระบบจำนวนเชิงซ้อนที่นิยามขึ้นมา จำเป็นต้องมีการตรวจสอบว่ามีสมบัติการเป็นกรุ๊ปกับการบวกและการคูณ หรือไม่

  7. บทนิยาม จำนวนเชิงซ้อน Z คือ (a,b) เมื่อ a,b เป็นจำนวนจริงเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ a+ib เมื่อ 12 = -1 (a,b)=(a,0)+(0,b)=a+ib = a+bi (a,0) เรียกว่า ส่วนจริง Re(Z)(0,b) เรียกว่า ส่วนจินตภาพ Im(Z) ดังนั้นจำนวนจริง a เขียนแทนได้ด้วย (a,0) = a+i0

  8. ข้อตกลงเบื้องต้น การเท่ากัน (a,b)=(c,d)เมื่อ a=cและb=d การบวก (a,b)+(c,d)=(a+c,b+d) หรือ a+ib + c+id = [a+c] + i[b+d] การคูณ (a,b)(c,d)=(ac-bd , ad+bc) หรือ [a+bi][c+di]= {ac+bdi2}+i{ad+bc} = {ac-bd}+i{ad+bc} เมื่อ i2 =-1

  9. สมบัติของ in เมื่อนำ 4 หาร n แล้วเหลือเศษ ได้ว่า 1 i i i2 0 -1 2 1 i4 i3 -i CyclicOrder 3

  10. ตรวจสอบสมบัติของการเป็นกรุ๊ปกับการบวกและการคูณตรวจสอบสมบัติของการเป็นกรุ๊ปกับการบวกและการคูณ (a,b)+(c,d) และ (a,b)*(c,d)ผลที่ได้เป็นจำนวนเชิงซ้อน มีสมบัติปิดกับการบวกและการคูณ (a,b)+{(c,d)+(e,f)}={(a,b)+(c,d)}+(e,f)และ (a,b)*{(c,d)*(e,f)}={(a,b)*(c,d)}*(e,f)มีสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้กับการบวกและการคูณ

  11. สมบัติการมีเอกลักษณ์ (a,b)+(0,0) = (a,b) มีเอกลักษณ์การบวกคือ (0,0) (a,b)*(1,0) = (a,b) มีเอกลักษณ์การคูณคือ (1,0) สมบัติการมีอินเวอร์ส(ตัวผกผัน) (a,b)+(-a,-b) = (0,0) มีอินเวอร์สการบวกคือ (-a,-b) (a,b)*(x,y) = (1,0) มีอินเวอร์สการคูณคือ (x,y) และ(x.y) คือ

  12. ตรวจสอบสมบัติครบ 4 ข้อ แสดงว่าระบบจำนวนเชิงซ้อนเป็นกรุ๊ปกับการบวกและการคูณ สามารถนำไปใช้ได้ทุกกรณี ผลสืบเนื่องได้ว่า การลบคือการบวกด้วยตัวผกผันการหารคือการคูณด้วยตัวผกผัน

  13. การหารคือการคูณด้วยตัวผกผันการหารคือการคูณด้วยตัวผกผัน แต่แนวทางปฏิบัติมักจะใช้สังยุคของตัวหารช่วยในการคำนวณ เพราะ (a,b)(a,-b) =(a2+b2,0) a2+b2 เป็นจำนวนจริงหรือเป็นส่วนจริงของระบบจำนวนเชิงซ้อน เป็นตัวช่วยหาผลหาร

More Related