1 / 135

ยินดีต้อนรับเข้าสู่

File : SC124_welcome_14swf. หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน. Enter Course. คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน. Music Bg. คลิก enter link ลิงค์ไปยังไฟล์ xxx_xxxx_xxx.swf. ยินดีต้อนรับเข้าสู่. รหัสวิชา SC124 (Chemistry For Engineers). เคมีอินทรีย์ (Organic Chem).

Download Presentation

ยินดีต้อนรับเข้าสู่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. File :SC124_welcome_14swf หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน Enter Course คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน Music Bg • คลิก enter link ลิงค์ไปยังไฟล์ xxx_xxxx_xxx.swf ยินดีต้อนรับเข้าสู่ รหัสวิชา SC124 (Chemistry For Engineers) เคมีอินทรีย์ (Organic Chem)

  2. File :sc124_Objective_14.swf หัวเรื่อง : หน้าวัตถุประสงค์รายวิชา วัตถุประสงค์การเรียนรู้ • ……………………………………………………………………………. • ……………………………………………………………………………. • ……………………………………………………………………………. Enter Course คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน • เมื่อคลิกปุ่ม Enter Course เข้าสู่ไฟล์ : xxxx_home_xxx.swf

  3. File :sc124_home_14.swf หัวเรื่อง : หน้าโครงสร้างบทเรียน สารบัญบท บทนำ การเรียกชื่อตามหมู่ฟังก์ชัน สมบัติทางกายภาพ ปฏิกิริยาทางเคมี แบบฝึกหัดเสริมความเข้าใจ คลิกเลือกหัวข้อเพื่อศึกษารายละเอียด ไม่มีเสียง • คลิก บทนำ link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก การเรียกชื่อตามหมู่ฟังก์ชัน link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก สมบัติทางกายภาพ link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก ปฏิกิริยาทางเคมี link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก แบบฝึกหัดเสริมความเข้าใจ link ไป File : sc124_14_01.swf

  4. File :sc124_14_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา บทนำ • สูตรโครงสร้างแบบต่างๆของสารอินทรีย์ H H H H H  C H C H C C C H H H H H C C  C C C • เราจะมาศึกษาการเขียนโครงสร้างแบบอะตอมของคาร์บอนไฮโดรเจนแบบที่เป็นแบบลิวอิสที่จะเปลี่ยนไปเป็นแบบบอนด์ไลน์คือเส้นพันธะ คือไม่มีตัวไฮโดรเจนโดยที่การหักมุมแต่ละจุดจะหมายถึงคาร์บอน ไฮโดรเจนจะไม่เขียน ทุกคนจะต้องทราบเอง ว่าคาร์บอนต้องมีสี่พันธะ เช่น ตำแหน่งนี้คาร์บอนมีหนึ่งพันธะ ที่เหลืออีกสามพันธะต้องเป็นไฮโดรเจน ส่วนตำแหน่งนี้คาร์บอนมีสองพันธะที่เหลืออีกสองพันธะจะต้องเป็นไฮโดรเจน • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงธาตุของธาตุบิวเทนแบบลิวอิสจากนั้น • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ เฟดเส้นขึ้นมาดังภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้เน้นที่ภาพลำดับ แล้วที่ภาพลำดับที่มีตัวซีขึ้นมาตามมุมจากนั้นเฟดตัวซีหายไป • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  5. File :sc124_14_02.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา บทนำ • สูตรโครงสร้างแบบต่างๆของสารอินทรีย์  พันธะคู่  พันธะสาม •  ถ้ามีพันธะคู่หรือพันธะสามมาเกี่ยวข้อง ถ้ากรณีมีพันธะคู่เราจะเขียนเป็นเส้นสองเส้นติดซ้อนกัน ถ้าเป็นพันธะสามจะมีพันธะสามจะมีสามเส้น • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ เฟดเส้นขึ้นมาดังภาพลำดับที่จากนั้นแสดงเส้นประล้อมรอบเส้นคู่พร้อมกับมีลูกศรชี้บอกข้อความว่าเป็นพันธะคู่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ เฟดเส้นขึ้นมาดังภาพลำดับที่จากนั้นแสดงเส้นประล้อมรอบเส้นสามเส้นพร้อมกับมีลูกศรชี้บอกข้อความว่าเป็นพันธะสาม • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  6. File :sc124_14_03.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา บทนำ • สูตรโครงสร้างแบบต่างๆของสารอินทรีย์ H H H O H H  C H H C C O C C C H H H H H เฮชทาโรอะตอม Cl O O C C C C  C C O • ในกรณีที่มีอะตอมอื่นที่มิใช่คาร์บอนกับไฮโดรเจนเราต้องเขียนขึ้นมา อะตอมอื่นอื่นพวกนี้เรียกว่า เฮชทาโรอะตอม  เช่น ถ้ามีออกซิเจนมาเกาะต้องเขียนออกซิเจน หรือ ถ้ามีซีแอลมาเกาะจะต้องเขียนซีแอลขึ้นมา ถ้ามีพันธะคู่ต้องเขียนเป็นสองเส้น ถ้ามีไนโตรเจนก็ต้องเขียนไนโตรเจนขึ้นมาด้วย ซึ่งในโครงสร้างแบบนี้จะเขียนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวก็ได้หรือไม่เขียนก็ได้ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่เฟดเส้นขึ้นมาดังภาพลำดับที่โดยตัวซีเป็นแบบเบลอเบลอและมีวงกลมล้อมรอบตัวโอแล้วมีเครื่องหมายลูกศรชี้บอกพร้อมมีข้อความว่าเฮชทาโรอะตอมขึ้นมา • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้วงกลมและตัวโอสองอันในภาพลำดับที่สองกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ เฟดภาพลำดับที่ขึ้นมาโดยเฟดภาพลำดับที่ และออกไป • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่  เฟดภาพลำดับที่  ขึ้นมา • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ เฟดภาพลำดับที่  ขึ้นมา • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป    C N

  7. File :sc124_14_04.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา บทนำ • สูตรโครงสร้างแบบต่างๆของสารอินทรีย์ C H C C H H  H C C C H  • สำหรับโครงสร้างแบบที่เป็นวงแหวน ถ้าเราเขียนเป็นลักษณะที่แสดงอะตอมของคาร์บอนและไฮโดรเจนจะดูยุ่งยาก เราจะเขียนในลักษณะที่ไม่แสดงอะตอมของคาร์บอนกับไฮโดรเจน คือเป็นวงแหวน โดยไฮโดรเจนไม่ต้องแสดง โดยต้องทราบว่ามีไฮโดรเจนอยู่หนึ่งตัว • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่เฟดเส้นขึ้นมาดังภาพลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  8. File :sc124_14_05.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน) สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัว(อัลคีนและอัลไคน์) สารประกอบอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน อัลคิลเฮไลด์ อัลกอฮอล์ อีเธอร์ สารประกอบคาร์บอนิล กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ คลิกเลือกหัวข้อเพื่อศึกษารายละเอียด เอมีน • คลิก สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน) link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัว(อัลคีนและอัลไคน์) link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก สารประกอบอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก อัลคิลเฮไลด์link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก อัลกอฮอล์ link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก อีเธอร์ ilnk ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก สารประกอบคาร์บอนิล link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก เอมีน ilnk ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก แบบฝึกหัดเสริมความเข้าใจ link ไป File : sc124_14_01.swf

  9. File :sc124_14_06.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน)   alkane H H H H C H H C C C  H H   H H     ธาตุบิวเทน C C  C C C   butane  การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค จะเริ่มจากอัลเคนก่อน มีแค่คาร์บอนกับไฮโดรเจนแล้วต่อกันด้วยพันธะเดี่ยวเท่านั้น  วิธีการเรียกชื่อโครงสร้างแบบง่าย เช่น บิวเทน ขั้นตอนแรก สายหลักคือคาร์บอนต่อกันยาวที่สุด จากนั้นนับว่ามีกี่ตัว  นับได้สี่คาร์บอน จาก ตารางจะเห็นว่าต้องใช้คำว่าบิวตะ  เป็นอัลเคนต้องลงท้ายด้วยเอเอ็นอีเสมอ บิวบวกกับเอนเป็นบิวเทน สารตัวนี้จึงชื่อว่าบิวเทน • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่มีคำว่าอัลเคนขึ้นมาแล้วมีภาพลำดับที่ตามด้วยลูกศรและภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงวงกลมสีแดงล้อมรอบตัวซีดังหมายเลข • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่  ปรากฏตารางขึ้นมาแล้วเน้นไปที่หมายเลขสี่คำว่า but จากนั้นให้เลื่อนคำคำนี้ออกมาที่ข้างล่าง • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้ตัวอักษรเอเอ็นอีเคลื่อนที่มายังหมายเลขรวมกับคำว่า but เป็น บิวเทน • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  10. File :sc124_14_07.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน)  alkane                3-Ethylhexane      Not 4-Ethyl hexane  โครงสร้างจะซับซ้อนมากขึ้นอีกมีกรุ๊ปอีกกรุ๊ปหนึ่งมาเกาะกับสายหลัก ขั้นตอนแรกหาก่อนว่าสายหลักชื่อว่าอะไร ให้นับจำนวนคาร์บอน หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า หก คาร์บอนเกาะกันยาวที่สุดมีหกตัว จากตารางต้องใช้คำว่า เฮกซะ เป็นอัลเคน ลงท้ายด้วยคำว่าเอน จึงเป็น เฮกเซน ซึ่งคือชื่อของสายหลัก เฮกเซนมีกรุ๊ปมาเกาะ กรุ๊ปที่มาเกาะมีคาร์บอนสองตัวมาเกาะเรียกว่าเอช  ถ้าไม่ใช่สายหลักจะไม่ลงท้ายด้วยเอเอ็นอี แต่ลงท้ายด้วยวายแอล กรุ๊ปเล็กเล็กนี้เรียกว่าเอชทิว  ซึ่งชื่อสายหลักอยู่ท้ายสุด  ชื่อของกรุ๊ปที่มาเกาะจะต้องอยู่ข้างหน้า  ชื่อนี้จึงเป็นเอทิลเฮกเซนการเรียกชื่อจะต้องบอกตำแหน่งด้วยว่าอยู่ตำแหน่งใด เอทิลเฮกเซน โดยตัวเลขที่จะใช้นับจากปลายข้างไหนก็ได้ที่ให้เป็นตัวเลขน้อยที่สุดถ้านับจากปลายทางด้านซ้ายจะเห็นว่าเอทิลกรุ๊ปมาเกาะเป็นตำแหน่งที่สามถ้านับจากทางด้านขวาเอทิลกรุ๊ปจะเป็นตำแหน่งที่สี่ ถ้าเทียบกันตำแหน่งที่สามน้อยกว่าตำแหน่งที่สี่  กรุ๊ปที่มาเกาะจะต้องเป็นตัวเลขที่น้อยที่สุดเสมอชื่อที่ถูกต้องจึงเรียกว่า สามเฮชทิวเฮกเซน • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ปรากฏคำว่า อัลเคนขึ้นมาก่อนจากนั้นแสดงตัวเลขสีเขียวขึ้นมาทั้งหกตัวทีละตัวที่แต่ละมุม • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ปรากฏตารางขึ้นมาจากนั้นหมายเลขหกเฮกกระพริบแล้วเคลื่อนที่ไปอยู่ตำแหน่งที่หนึ่ง • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ เส้นสีแดงที่มาเกาะกระพริบพร้อมกับหมายเลขสองในตารางกับคำว่าeth กระพริบแล้วเคลื่อนมาอยู่ในตำแหน่งที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ตัวอักษรวายแอลปรากฏขึ้นมาพร้อมกับกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่คำว่า hexane กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่คำว่า ethyl กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่คำว่า ethylhexaneกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ปรากฏเลขที่เส้นเลขสีเขียวไล่ไปเรื่อยเรื่อยและให้จุดที่เส้นสีแดงมาเกาะมีวงกลมสีแดงมาล้อมรอบเลขสาม • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ปรากฏเลขที่เส้นเลขสีแดงไล่ไปเรื่อยเรื่อยและให้จุดที่เส้นสีแดงมาเกาะมีวงกลมสีแดงมาล้อมรอบเลขสาม • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่3-Ethylhexane กระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  11. File :sc124_14_08.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน)  alkane       2,3,5-trimethylhexane Not 2,4,5-trimethylhexane        ในกรณีที่มีกรุ๊ปเหมือนเหมือนกันมากกว่าหนึ่งกรุ๊ปจะทำอย่างไรดี เช่นในโมเลกุลนี้จะเห็นว่ามีเมทิลกรุ๊ป ตัวที่มีคาร์บอนตัวเดี่ยวนี้มีเมทิลกรุ๊ปมาเกาะที่สามกรุ๊ป ที่ตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น ที่ตำแหน่งสองสามและห้า เพราะฉะนั้นเราจึงสามารถนำทั้งสามกรุ๊ปมารวมกันและใช้คำว่าไตรนำหน้าคำว่าเมทิล จึงมีชื่อว่า สองสามห้าไตรเมทิล คำว่าไตรเมทิลหมายถึงสาม ไดคือสองกรุ๊ป และ ถ้าเป็นสี่กรุ๊ปคือเตตระ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ปรากฏคำว่า อัลเคนขึ้นมาก่อนจากนั้นแสดงตัวเลขสีเขียวขึ้นมาทั้งหกตัวทีละตัวที่แต่ละมุมจากทางขวามือจากนั้นให้มีข้อความคำว่า hex เลื่อนมาจากตารางและปรากฏขึ้นมาพร้อมกับคำว่าเอเอ็นอีเลื่อนมาจากข้างบนและคำว่าmeth เลื่อนมาจากตารางมาอยู่ในตำแหน่งที่สี่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้วงกลมสีแดงในหมายเลขสองสามห้ากระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้คำว่า 2,3,5-tri กระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  12. File :sc124_14_09.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน)                       3,3-Dimethylpentane 2,4-Dimethylheptane 2,2,4-Trimethylheptane  มาดูตัวอย่างกันถ้ามีเมทิลกรุ๊ปสองกลุ่มเหมือนกันจะใช้คำว่าได ที่นี้เมทิลกรุ๊ปแต่ละกรุ๊ปต้องบอกตำแหน่งด้วยว่ามาเกาะที่สายหลักของเราที่ตำแหน่งเท่าไร เช่นในกรณีนี้มาเกาะที่ตำแหน่งที่สามเหมือนกันทั้งสองกรุ๊ปจะต้องเขียนว่าสามสามไดเมนเทิวเพนเทน จะเขียนเลขสามตัวเดียวไม่ได้ต้องเป็นสามสาม ตัวอย่างที่สองเป็นสองสี่จะเป็นสองสี่ไดเมนทิว ตัวอย่างสุดท้ายคือสองสองสี่ไตรเมทิลเฮพเทน • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ปรากฏเส้นพันธะลำดับที่หนึ่งขึ้นมาก่อน • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้วงกลมสีแดงในหมายเลขสามกระพริบจากนั้นคำว่า 3,3-Dimethylpentane กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่เฟดภาพลำดับที่ขึ้นมาให้วงกลมสีแดงกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ เฟดภาพลำดับที่ขึ้นมาให้วงกลมสีแดงกระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  13. File :sc124_14_10.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน) alkane         3-Methyl-5-propylnonane           ตัวอย่างกรณีที่มีกรุ๊ปมาเกาะมีชื่อไม่เหมือนกัน  ถ้ามีคาร์บอนตัวเดียวเป็น เมทิล อีกกรุ๊ปหนึ่งมีคาร์บอนสามตัวจึงเป็นโพรพิล เมทิลอยู่ตำแหน่งที่สาม  โพรพิลอยู่ตำแหน่งที่ห้า การเรียงลำดับระหว่างเมทิลกับโพรพิลว่าอะไรจะอยู่ก่อนกัน  การเรียงลำดับจะเรียงลำดับตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเอ็มมาก่อนตัวพีดังนั้น เมทิลจึงต้องอยู่หน้าโพรพิล • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ปรากฏเส้นพันธะลำดับที่หนึ่งขึ้นมาก่อนและแสดงตัวเลขสีเขียว พร้อมกับแสดงตารางจากนั้นให้เลื่อนคำว่าเอเอ็นอีมาอยู่ในตำแหน่งที่หนึ่ง • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ จากนั้นคำว่า methy เลื่อนจากตารางลงมาที่ตำแหน่งที่เจ็ดสีเขียวพร้อมกับวงกลมที่หมายเลขสามกระพริบและปรากฏเลขสามที่หน้าคำว่า methy • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ วงกลมที่หมายเลขห้ากระพริบและคำว่า prop เลื่อนจากตารางลงมาอยู่ในตำแหน่งที่สี่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ คำว่า methy กระพริบพร้อมกับคำว่า 5-propyl กระพริบด้วย • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  14. File :sc124_14_11.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน)  alkane    4-Ethyl-2-methylhexane             อันนี้ก็คือเป็นลองให้เรียกลำดับดูนะว่าถ้าเรามีเอทธิลกรุ๊ปเกาะอยู่ตำแหน่งที่สี่ กับเมทธิลกรุ๊ปเกาะตำแหน่งที่สอง และสายหลักของเราก็คือ เฮกเซน เราจะต้องเรียกโมเลกุลนี้ว่าสองเมทธิลสี่เอทธิลเฮกเซน หรือว่า สี่เอทธิลสองเมทธิลเฮกเซน ก็คือเรามาเทียบกันตัวอีก็คือต้องมาก่อนตัวเอ็มนะ  ชื่อที่ถูกต้องก็คือ สี่เอทธิลสองเมทธิลเฮกเซน • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ปรากฏเส้นพันธะลำดับที่หนึ่งขึ้นมาก่อนและแสดงตัวเลขสีเขียว พร้อมกับแสดงตารางจากนั้นให้เลื่อนคำว่าเอเอ็นอีมาอยู่ในตำแหน่งที่หนึ่ง • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ จากนั้นคำว่า methy เลื่อนจากตารางลงมาที่ตำแหน่งที่เจ็ดสีเขียวพร้อมกับวงกลมที่หมายเลขสามกระพริบและปรากฏเลขสามที่หน้าคำว่า methy • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ จากนั้นคำว่า4-Ethyl-2-methylhexane กระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  15. File :sc124_14_12.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน) -Ethyl- , -dimethyldecane ตรวจคำตอบ พิมพ์คำตอบลงในช่องว่างและคลิกปุ่มตรวจคำตอบเพื่อดูว่าทำถูกต้องหรือไม่ แบบฝึกหัดให้ลองทำว่า สายหลักเราจะเรียกว่าอะไรดี กรุ๊ปที่มาเกาะแต่ละกรุ๊ปมันชื่ออะไร ถ้าเหมือนกันจะต้องทำยังไง ลองทำกัน • การนำเสนอมีดังนี้ ทำกิจกรรมเป็นการเติมคำลงในช่องว่าง • คำตอบ 5-Ethyl-4,4-dimethyldecane • คลิกตรวจคำตอบจะปรากฏป๊อบอัพ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  16. File :sc124_14_13.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน)  -Cyclo-   Cyclopropane  Cyclopentane  Methylcyclohexane 1,2-Dimethylcyclobutane      ถ้าโมเลกุลที่เป็นวงแหวนป็นไซกริด หน้าชื่อของเราต้องเติมคำว่าไซโครเข้าไป ซีวายซีแอลโอไซโคร อย่างเช่นถ้ามันเป็นวงแหวนสามเหลี่ยมก็คือไซโครโพเพน วงสี่เหลี่ยมก็คือไซโครบิวเพน ห้าเหลี่ยมก็คือไซโครเพนเทน หกเหลี่ยมก็คือไซโครเฮกเซน ที่นี้กรุ๊ปที่มันมาเกาะเราก็ต้องใส่ตำแหน่งลงไปด้วย อย่างเช่นหนึ่งสองไดเมทธิลไซโครบิวเทนก็คือตำแหน่งที่มันมีเมทธิลกรุ๊ปไปเกาะเราจะให้เป็นตำแหน่งที่หนึ่งเสมอ อย่างเช่นดูตัวอย่างของเมทธิวไซโครเฮกเซน เมทธิลกรุ๊ปไปเกาะตำแหน่งที่เมทธิลกรุ๊ปไปเกาะเราจะให้มันเป็นตำแหน่งที่หนึ่งเสมอ เพราะฉะนั้นในการเรียกชื่อเราจะเขียนเลขหนึ่งหรือไม่เขียนก็ได้ โดยทั่วไปไม่ต้องเขียนเพราะว่าทุกคนก็รู้อยู่แล้วว่ามันเป็นตำแหน่งที่หนึ่ง • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่หนึ่งโดยมีคำว่า Cyclo กระพริบจากนั้นคำว่าpropaneกระพริบด้วย • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้เฟดภาพลำดับที่หนึ่งหายไปเฟดภาพลำดับที่เข้ามาที่กลางหน้าจอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้เฟดภาพลำดับที่หายไปเฟดภาพลำดับที่เข้ามาที่กลางหน้าจอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้เฟดภาพลำดับที่หายไปเฟดภาพลำดับที่เข้ามาที่กลางหน้าจอพร้อมกับคำ1,2-Dimethylcyclobutane กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้เฟดภาพลำดับที่หายไปเฟดภาพลำดับที่เข้ามาที่กลางหน้าจอพร้อมกับคำ Methylcyclohexane กระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  17. File :sc124_14_14.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัว (อัลคีนและอัลไคน์)   alkene   CH2=CH2 Ethene  CH3-CH=CH2 Propene   ที่นี้ก็จบในเรื่องของเอาเคน เราจะมาเริ่มเรื่องของเอาคีน การเรียกชื่อของเอาคีนก็คือคล้ายๆ กับการเรียกชื่อของเอาเคนแต่ว่าเอาคีนลงท้ายด้วย อีเอ็นอี ชื่อของสายหลักของเราจะลงท้ายด้วยอีเอ็นอี อย่างเช่นถ้ามีคาร์บอนสองตัว จากตารางเราก็ต้องรู้ว่าเราต้องใช้คำว่าเอช บวกกับอีน ก็จะได้เป็นอีทีน ถ้ามีคาร์บอนสามตัวก็จะเป็น โพรพีน ที่นีเราต้องบอกตำแหน่งด้วยว่าพันธะคู่มันอยู่ตำแหน่งที่เท่าไหร่ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่คำว่า ene กระพริบและเลื่อนลงมาที่ตำแหน่งข้างล่างตามทิศทางลูกศรจากนั้นคำว่า eth ในตารางก็กระพริบและเลื่อนมาตามทิศทางลูกศรที่แสดงจากนั้นคำว่า ethene กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ คำว่า ene กระพริบและเลื่อนลงมาที่ตำแหน่งข้างล่างตามทิศทางลูกศรจากนั้นคำว่า prop ในตารางก็กระพริบและเลื่อนมาตามทิศทางลูกศรที่แสดงจากนั้นคำว่า propene กระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  18. File :sc124_14_15.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัว (อัลคีนและอัลไคน์)   alkene             butene 2-butene   จะเห็นว่าสารสองตัวแรกคือบิวทีนเหมือนกันแต่มันเป็นสารคนละตัว ตัวแรกพันธะคู่อยู่ตำแหน่งที่หนึ่ง ส่วนตัวที่สองพันธะคู่อยู่ตำแหน่งที่สอง เพราะฉะนั้นตัวแรกจะชื่อว่าหนึ่งบิวทีน ในขณะตัวที่สองจะชื่อว่าสองบิวทีน โดยที่เรามาดูตัวอย่างที่หนึ่งก่อน ตัวนี้ เราจะเห็นว่าเราสามารถนับเริ่มเลขหนึ่งจากทางด้านไหนก็ได้มันมีสองแบบใช่ไหมครับ จะเห็นได้ว่าถ้านับจากทางด้านซ้าย ตัวนี้พันธะคู่จะอยู่ตำแหน่งที่สาม แต่ถ้าเรานับจากทางด้านขวา พันธะคู่จะอยู่ตำแหน่งที่หนึ่ง เพราะฉะนั้นเราต้องรู้ว่าคำตอบที่ถูกเราต้องเริ่มจากด้านไหนก็คือต้องเริ่มทางด้านที่เป็นตัวเลขที่น้อยที่สุด ข้อนี้ก็คือหนึ่ง บิวทีน • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงข้อความลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่เฟดภาพกลับไปที่ข้อความลำดับที่หนึ่งพร้อมกับวงกลมสีแดงล้อมรอบตรงพันธะคู่และกระพริบตัวเลขสีแดงกระพริบแสดงตำแหน่งจากนั้นเฟดหายไป • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ที่ข้อความลำดับที่ให้เลขสีเขียวกระพริบพร้อมกับวงกลมสีแดงกระพริบด้วย • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  19. File :sc124_14_16.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน) -methyl- -pentene ตรวจคำตอบ พิมพ์คำตอบลงในช่องว่างและคลิกปุ่มตรวจคำตอบเพื่อดูว่าทำถูกต้องหรือไม่ แบบฝึกหัดให้ลองทำว่า สายหลักเราจะเรียกว่าอะไรดี กรุ๊ปที่มาเกาะแต่ละกรุ๊ปมันชื่ออะไร ถ้าเหมือนกันจะต้องทำยังไง ลองทำกัน • การนำเสนอมีดังนี้ ทำกิจกรรมเป็นการเติมคำลงในช่องว่าง • คำตอบ 3-methyl-2-pentene • คลิกตรวจคำตอบจะปรากฏป๊อบอัพ

  20. File :sc124_14_17.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัว (อัลคีนและอัลไคน์)   alkene                   cyclohexene 3,4-dimethylcyclohexene  มาดูในกรณีที่มันเป็นวงแหวนบ้าง ถ้าเป็นวงแหวนหกเหลี่ยมมีพันธะคู่อยู่ข้างในเราก็จะเรียกว่าเป็นไซโครเฮกซีน ก็คือจะลงท้ายด้วยคำว่า อีเอ็นอี ที่นี้พันธะคู่เราต้องระบุไหมว่ามันอยู่ตำแหน่งที่เท่าไหร่ ก็คือตำแหน่งของพันธะคู่จะต้องตำแหน่งที่หนึ่งเสมอ เพราะฉะนั้นกรณีนี้เราก็เลยไม่ต้องเขียนเลขหนึ่งเอาไว้ ก็คือทุกคนต้องรู้ว่าหนึ่งไซโครเฮกซีน ที่นี้ลองมาดูตัวอย่างถัดไปก็คือ สามสี่ไดเมทธิลไซโครเฮกซีน เนื่องจากว่าตำแหน่งของพันธะคู่มันจะต้องเป็นหนึ่งเสมอ ที่นี่ในตัวอย่างมันก็สามารถเรียงตัวเลขได้สองแบบ ก็คือ แบบที่หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า หก เรียงแบบนี้ กับอีกแบบหนึ่ง เริ่มตำแหน่งที่หนึ่งจากตรงนี้ สอง สาม สี่ ห้า หก จะเห็นว่าแบบที่หนึ่ง  เมทธิลกรุ๊ปจะอยู่ตำแหน่งที่สามกับสี่  ในขณะที่แบบที่สอง เมทธิลกรุ๊ปจะอยู่ตำแหน่งที่ห้ากับหก คำตอบที่ถูกก็คือต้องเป็นแบบแรก เพราะว่าเป็นตัวเลขที่น้อยกว่า ตัวนี้จะชื่อว่าสามสี่ไดเมทธิลไซโครเฮกซีน • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงข้อความลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงตัวเลขสีแดงกระพริบจากนั้นเฟดหายไป • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงตัวเลขสีเขียวกระพริบจากนั้นแสดงวงกลมสีเขียวล้อมรอบแล้วเฟดหายไป • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่  แสดงตัวเลขสีแดงกระพริบพร้อมกับวงกลมสีแดงล้อมรอบพร้อมทั้งชื่อ3,4-dimethylcyclohexene กระพริบด้วย • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  21. File :sc124_14_18.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัว (อัลคีนและอัลไคน์)   alkyne   ethyne (or acetylene)  มาดูเอาคายก็คือต้องมีพันธะอยู่ในโมเลกุลถ้ามีคาร์บอนสองตัวมาเกาะกันที่พันธะสาม คาร์บอนสองตัวใช้คำว่า เอช เอาคายก็ต้องลงท้ายด้วยคำว่า อาย วายเอ็นอี เอาสองคำนี้มารวมกัน ก็จะได้เป็น อีทาย หรือบางคนก็เรียกว่าเป็น อะเซสเทอรีน ก็คือชื่ออีทายเป็นชื่อตามระบบไอยูแพ็ค ส่วนอะเซสเทอรีนก็คือเป็นชื่อที่เค้านิยมใช้กันแต่ว่าไม่ใช่ระบบไอยูแพ็ค • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่และข้อความลำดับที่สองกระพริบจากนั้นให้วายเอ็นอีเลื่อนลงมาที่ตามลูกศรและคำว่า eth เลื่อนจากตารางมายังหน้าคำว่า yne • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงข้อความลำดับที่ • กระพริบ และข้อความลำดับที่  กระพริบทั้งสองคำ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  22. File :sc124_14_19.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน Benzene                   bromobenzene   nitrobenenez  ethylbenzene  ที่นี่ถ้าเป็นสารประกอบอะโรมาติคบ้าง ก็คือมันจะเป็นวงแหวนหกเหลี่ยมใช่ไหมครับและก็มีพันธะคู่ข้างในสามวง อันนี้เราจะเรียกโมเลกุลนี้ว่าเป็น ซีน ถ้าเรามีเอทธิลมาเกาะอยู่ที่วงเบนซีน ตัวนี้เราก็เรียกว่าเป็น เอทธิลเบนซีนถ้ามีโรลมีนมาเกาะ ก็จะเป็น โรโมเบนซีน ก็คือถ้ามีพวกแคลโรเจนเราจะขึ้นต้น อย่างเช่นถ้ามี ซีแอลก็คือต้องเป็นคอโรล ถ้ามีโบลมีนมาเกาะก็คือ โบโม ถ้ามีไอโอดีนมาเกาะก็คือไอโอโด ไนโตรกรุ๊ปเอนโอสองก็ใช้คำว่าไนโตรเบนซีน • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่เส้นคู่พร้อมกับวงกลมสีแดงกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ยังไม่มีบีอาร์มาเกาะ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ให้มีคำว่า บีอาร์มาเกาะ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่มีตัวเอ็นและโอมาเกาะ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  23. File :sc124_14_20.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน         ฟีนอล (Ph-OH) Toluene (methyl Benzene)  มาดูตัวอย่างกัน เมทธิลเบนซีนเป็นสารที่เราใช้กันมากในห้องปฏิบัติการแต่ว่าเรามักจะรู้จักกันในชื่อของโทรูอีน ซึ่งเมทธิลเบนซีนเป็นชื่อของ ไอยูแพค แต่ว่าเขาไม่ได้นิยมเรียกกัน เค้ามักจะเรียกตัวนี้ว่า โทรูอี อีกตัวหนึ่งก็คือไฮด๊อกซีเบนซีน ตัวนี้ก็ใช้บ่อยแต่ว่าเราจะเรียกว่าเป็นฟีนอล ดังนั้นทุกคนต้องรู้ชื่อของที่ไม่ใช่ระบบไอยูแพคด้วย • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่  กระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  24. File :sc124_14_21.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • อัลคิลเฮไลด์   Br       2-chloropropane 2-bromopropane  อย่างเช่นถ้าเรามีคลอรีนมาเกาะกับโมเลกุลของโพรเพนที่ตำแหน่งที่สอง ตัวนี้เราจะเรียกว่าเป็นสองคลอโลโพรเพน  ถ้ามีโบรมีนมาเกาะเราก็จะเรียกว่าเป็นสองโบรโมบิวเทนเหมือนตัวอย่าง • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ ให้ตัวซีแอลและวงกลมรอบรอบกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่  ให้ตัวบีอาร์และวงกลมที่ล้อมรอบกระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  25. File :sc124_14_22.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • อัลกอฮอล์  alcohol     Propanaol  มาดูการเรียกชื่อของแอลกอฮอล์บ้าง การเรียกชื่อของแอลกอฮอล์ต้องลงท้ายด้วยคำว่า โอแอล อย่างเช่นถ้าเรามีคาร์บอนสามตัว ก็คือต้องใช้คำว่าโพรเพน รวมถึงเป็นแอลกอฮอล์ก็ต้องลงท้ายด้วยโอแอล ก็คือจะเป็นโพรพานอล • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่และภาพลำดับที่สอง • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่ แสดงตัวเลขหนึ่งถึงสามในจุดหักของแต่ละมุม • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงการเลื่อนคำว่า โอแอลเลื่อนลงมาอยู่ต่อจากคำว่า Propan • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  26. File :sc124_14_23.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • อัลกอฮอล์  alcohol     Ethanol 1-Propanol  2-Propanol        Methanol  สำหรับตัวอย่างให้เราดูว่าคาร์บอนหนึ่งตัวก็คือเกาะกับโอเอชกรุ๊ปก็คือ เมททานอล คาร์บอนสองตัวเกาะกับไฮดรอกซี่กรุ๊ปก็คือเอททานอลถ้ากรณีของสองโพรพานอล เราจะเห็นว่าโอเอชกรุ๊ปมาเกาะกับโมเลกุลของโพรเพนแต่อยู่ตำแหน่งที่สองเพราะฉะนั้นเราต้องระบุตำแหน่งไปด้วยว่าเป็นสองโพรพรานอลซึ่งมันจะแตกต่างจากคำว่าหนึ่งโพรพรานอล • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  27. File :sc124_14_24.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • อัลกอฮอล์  alcohol        cyclobutanol  ถ้าเป็นวงแหวนก็คือเติมคำว่าไซโครเข้าไปอย่างเช่นกรณีก็จะเป็นไซโครบิวทานอล ถ้ามีกรุ๊บต่างๆมาเกาะอยู่ในโมเลกุลของแอลกฮอลก์จะต้องเริ่มนับจากปลายด้านที่โอเอชกรุ๊ปเป็นตัวเลขน้อยที่สุดส่วนกรุ๊ปอื่นอื่นจะเป็นตัวเลขเท่าไรก็แล้วแต่ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่พร้อมข้อความลำดับที่ และค่อยค่อยแสดงเลขหนึ่งถึงสี่ที่สี่เหลี่ยม • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงข้อความลำดับที่แสดงข้อความ โอเอช ลากต่อออกมา • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  28. File :sc124_14_25.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • อัลกอฮอล์  alcohol        4,4-dimethyl-2-pentanol เช่นกรณีนี้เริ่มหนึ่งจากทางด้านขวา สอง สาม สี่ ห้า จะเห็นว่าตำแหน่งที่สองมีโอเอชกรุ๊ปมาเกาะ ตำแหน่งที่สี่มีเมทิลกรุ๊ปมาเกาะ เมทิลสองตัวเรียกว่าได  ดังนั้นจึงมีชื่อว่าสี่สี่ไดเมนทิลสองเพนทิลนอล เลขสองตัวนี้กำลังบอกว่าโอเอช กรุ๊ปเกาะอยู่ที่ตำแหน่งที่สอง • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่พร้อมภาพลำดับที่ และแสดงเลขทีละตัวจนครบห้าตัวเมื่อครบห้าตัว คำว่า pent กระพริบโดยเลื่อนออกมาจากตารางมาอยู่ในตำแหน่งที่แสดง • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงข้อความลำดับที่แสดงเส้นต่อเนื่องออกจากหมายเลขสองโดยมีข้อความว่าโอเอชกำกับอยู่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงเส้นต่อเนื่องต่อออกมาจากตำแหน่งที่สี่สองเส้น พร้อมกับคำว่า di กระพริบด้วย • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ชื่อเต็ม4,4-dimethyl-2-pentanol ทั้งหมดกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่คือ โอเอชกระพริบพร้อมกับตัวเลขสองที่ชื่อกระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  29. File :sc124_14_26.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • อัลกอฮอล์ -penten- -ol ตรวจคำตอบ พิมพ์คำตอบลงในช่องว่างและคลิกปุ่มตรวจคำตอบเพื่อดูว่าทำถูกต้องหรือไม่ มาลองทำแบบฝึกหัดกัน จากแบบฝึกหัดให้ลองทำว่า สายหลักเราจะเรียกว่าอะไรดี กรุ๊ปที่มาเกาะแต่ละกรุ๊ปมันชื่ออะไร ถ้าเหมือนกันจะต้องทำยังไง ลองทำกัน • การนำเสนอมีดังนี้ ทำกิจกรรมเป็นการเติมคำลงในช่องว่าง • คำตอบ 4-penten-2-ol • คลิกตรวจคำตอบจะปรากฏป๊อบอัพ

  30. File :sc124_14_27.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • อีเธอร์  Ether     Ethyl ethylether Diethyl ether  การเรียกชื่อของอีเธอร์ การเรียกชื่อของอีเธอร์แบบง่ายง่ายให้ดูอัลทิลกรุ๊ปทั้งสองข้างของเป็นกรู๊ปอะไรบ้าง สองข้างของออกซิเจนเป็นเอทิลกรุ๊ปตรงนี้จึงเรียกว่าเอทิลเอทิลอีเธอร์ ให้เรียกชื่อเอทิลทั้งสองกรุ๊ป และ ตามด้วยคำว่าอีเธอร์  ถ้าชื่อเหมือนกัน อาจจะรวมกันเป็นไดเอทิลอีเธอร์ก็ได้แทนที่จะเรียกเอทิลเอทิลอีเธอร์ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่พร้อมข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่คือให้วงกลมทั้งสองข้างกระพริบจากนั้นปรากฎช้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  31. File :sc124_14_28.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • อีเธอร์ ethyl ether ตรวจคำตอบ เป็นแบบฝึกหัดให้นักศึกษาทำถ้าข้างหนึ่งเป็นวงแหวนสามเหลี่ยมอีกข้างเป็นคาร์บอนสองตัวตัวหนึ่งต้องเรียกว่าอะไร ลองทำกัน • การนำเสนอมีดังนี้ ทำกิจกรรมเป็นการเติมคำลงในช่องว่าง • คำตอบ Cyclopropyl ethyl ether • คลิกตรวจคำตอบจะปรากฏป๊อบอัพ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  32. File :sc124_14_29.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบคาร์บอนิล                  คีโตน อัลดีไฮด์ butanal • ถ้าอัลดีไฮด์เป็นหมู่ที่มีอันดับหมู่ฟังก์ชันนัลสูงสุดให้ลงท้ายชื่อของสายหลักด้วย “-al” การเรียกชื่อของอัลดีไฮด์กับคีโตน เริ่มจากอัลดีไฮด์กันก่อนสารประกอบอัลดีไฮด์จะลงท้ายด้วยเอแอล มีคาร์บอนอยู่สี่ตัวคือต้องใช้คำว่าบิวตะ บิวเทน เป็นอัลดีไฮด์ลงท้ายด้วยเอแอล ตัวนี้จึงเรียกว่าเป็นบิวทานอลการออกเสียงจะคล้ายบิวตะนอลซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องระวัง อัลดีไฮด์ต้องอยู่ปลายสายเสมอเพราะจะต้องเป็นตำแหน่งที่หนึ่งเสมอโดยไม่ต้องระบุตำแหน่งก็ได้ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  33. File :sc124_14_30.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบคาร์บอนิล         methanal or formaldehyde ethanal or acetaldehyde  ตัวอย่างถ้าเรามีคาร์บอนเพียงตัวเดียวตัวนี้เราจะเรียกว่าเมทาธอล คือคำว่ามีเทนลงท้ายด้วยเอแอล ตัวนี้ชื่อทั่วไปจะเรียกว่าฟอร์มาดีไฮด์ ทุกคนต้องรู้จักทั้งชื่อที่เป็นชื่อสามัญและชื่อไอยูแพค และถ้ามีถ้ามีคาร์บอนสองตัวคือเป็นเอชทานอลหรือเป็นที่นิยมเรียกกันว่าอะเซตทาดีไฮด์ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  34. File :sc124_14_31.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบคาร์บอนิล , -dimethylpentanal ตรวจคำตอบ พิมพ์คำตอบลงในช่องว่างและคลิกปุ่มตรวจคำตอบเพื่อดูว่าทำถูกต้องหรือไม่ แบบฝึกหัดให้ลองทำว่า สายหลักเราจะเรียกว่าอะไรดี กรุ๊ปที่มาเกาะแต่ละกรุ๊ปมันชื่ออะไร ถ้าเหมือนกันจะต้องทำยังไง ลองทำกัน • การนำเสนอมีดังนี้ ทำกิจกรรมเป็นการเติมคำลงในช่องว่าง • คำตอบ 4,4-dimethylpentanal • คลิกตรวจคำตอบจะปรากฏป๊อบอัพ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  35. File :sc124_14_32.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบคาร์บอนิล  • การเรียกชื่อของคีโตน • คำเสริมท้าย (Suffix):  -one • คำเสริมหน้า (Prefix):    oxo         2-pentanone กรณีที่เป็นคีโตน คีโตนจะอยู่ตำแหน่งไหนก็ได้จำเป็นต้องระบุตำแหน่งลงไปด้วย เช่น ตัวอย่างแรกมีคาร์บอนอยู่ห้าตัวต้องใช้คำว่าเพนตะ เพนเทน หมู่คาร์บอนิลอยู่ตำแหน่งที่สอง ตัวนี้ชื่อว่าสองเพนทาโนล คีโตนลงท้ายด้วยโอเอ็นอี • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงวงกลมสีแดงล้อมรอบที่ตำแหน่งที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  36. File :sc124_14_33.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบคาร์บอนิล  การเรียกชื่อของคีโตนทำได้สองแบบ คือ ลงท้ายชื่อของสายหลักด้วย “-one” เช่น 2-propanone เรียกชื่อหมู่อัลคิลทีละข้างตามด้วยคำว่า “ketone”      2-propanone or dimethyl ketone or acetone ถ้ามีคาร์บอนอยู่สามตัวคือโพรพาโนล อย่าลืมระบุตำแหน่งของหมู่คาร์บอนิลด้วยว่าอยู่ตำแหน่งที่เท่าไร อันนี้คือสองโพรพาโนล เนื่องจากมีคาร์บอนแค่สามตัว และคีโตนจะอยู่ตำแหน่งตรงปลายไม่ได้ ดังนั้น โพรพาโนลไม่ต้องระบุตำแหน่งก็ได้ไม่เป็นไร • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงวงกลมสีแดงล้อมรอบที่ตำแหน่งที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงตัวเลขหนึ่งสองสามกระพริบและพร้อมกับแสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  37. File :sc124_14_34.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบคาร์บอนิล -pentanone or diethyl ketone ตรวจคำตอบ พิมพ์คำตอบลงในช่องว่างและคลิกปุ่มตรวจคำตอบเพื่อดูว่าทำถูกต้องหรือไม่ มาลองทำแบบฝึกหัดกัน จากแบบฝึกหัดให้ลองทำว่า สายหลักเราจะเรียกว่าอะไรดี กรุ๊ปที่มาเกาะแต่ละกรุ๊ปมันชื่ออะไร ถ้าเหมือนกันจะต้องทำยังไง ลองทำกัน • การนำเสนอมีดังนี้ ทำกิจกรรมเป็นการเติมคำลงในช่องว่าง • คำตอบ 3-pentanone or diethyl ketone • คลิกตรวจคำตอบจะปรากฏป๊อบอัพ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  38. File :sc124_14_35.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบคาร์บอนิล    • หมู่คาร์บอนิลของคีโตนอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของวงแหวน • กรณีที่มีพันธะคู่หรือพันธะสามในโมเลกุลให้ระบุตำแหน่งของพันธะคู่หรือพันธะสามให้หน้าชื่อของสายหลักและระบุตำแหน่งของหมู่คาร์บอนิลไว้หน้า “-one” • ถ้ามีหมู่คาร์บอนิลมากกว่าหนึ่งหมู่ก็สามารถใช้คำว่า di, tri,… ในการบอกจำนวนได้     cyclobutanone กรณีที่เป็นวงแหวนคีโตนที่เป็นวงแหวนเราจะนับจำนวนคาร์บอน ในวงมีสี่ตัวจึงเป็นไซโคลนบิวทาโนล ซึ่งตำแหน่งของคาร์บอนิลกรุ๊ปจึงเป็นตำแหน่งที่หนึ่ง ดังนั้นเราจึงไม่ต้องใส่ตำแหน่งลงไป • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่พร้อมกับแสดงข้อความทั้งสามลำดับจากนั้นให้หมายเลขสีแดงหนึ่งถึงสี่กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ มีวงกลมสีแดงวงกลมล้อมรอบหมายเลขหนึ่งดังที่แสดง พร้อมกับชื่อ cyclobutanone กระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  39. File :sc124_14_36.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบคาร์บอนิล       4-penten-2-one กรณีมีหมู่คีโตนและพันธะคู่ในโมเลกุลด้วย ถ้าเรานับจำนวนคาร์บอนจะได้ห้าตัวเป็นเพนทีน เนื่องจากมีหมู่ของคีโตนอยู่จึง เป็นเพนทีนโนล  แต่ละตำแหน่งของพันธะคู่ และคาร์บอนนิลกรุ๊ป ต้องใส่ตัวเลขลงไปด้วย จะได้เป็นสี่เพนทีสองโอ  ตำแหน่งของคาร์บอนิลกรุ๊ปเลขสองจะแทรกไว้หน้าชื่อหน้าโอเอ็นอี • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงคำว่า penten one กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงวงกลมล้อมรอบและวงกลมสีเขียวล้อมรอบและกระพริบพร้อมกับจะแสดงตัวเลขสี่หน้าคำว่า penten • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความหมายเลขสองและโอเอ็นอี • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  40. File :sc124_14_37.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบคาร์บอนิล , -pentadione ตรวจคำตอบ พิมพ์คำตอบลงในช่องว่างและคลิกปุ่มตรวจคำตอบเพื่อดูว่าทำถูกต้องหรือไม่ มาลองทำแบบฝึกหัดกัน จากแบบฝึกหัดให้ลองทำว่า สายหลักเราจะเรียกว่าอะไรดี กรุ๊ปที่มาเกาะแต่ละกรุ๊ปมันชื่ออะไร ถ้าเหมือนกันจะต้องทำยังไง ลองทำกัน • การนำเสนอมีดังนี้ ทำกิจกรรมเป็นการเติมคำลงในช่องว่าง • คำตอบ 2,4-pentadione • คลิกตรวจคำตอบจะปรากฏป๊อบอัพ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  41. File :sc124_14_38.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์   • การเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิกคำเสริมท้าย = -oic acid • หมู่คาร์บอกซิลิกอยู่ติดกับวงแหวนให้เปลี่ยนคำเสริมท้ายเป็น -carboxylic acid • คำเสริมหน้า =  carboxy-อะตอมของคาร์บอนของกรดคาร์บอกซิลิก (-CO2H หรือ COOH) จะอยู่ที่ปลายโซ่ ทำให้มันเป็นตำแหน่งที่หนึ่งเสมอ จึงไม่จำเป็นต้องระบุตำแหน่งของมัน       การเรียกชื่อของสารประกอบคาร์บอกซิลิก เอซิก เป็นกรดคาร์บอกซิลิก ลงท้ายด้วยโออิกเอซิก ถ้ามีคาร์บอนสองตัว ต้องใช้คำว่าเอช ลงท้ายด้วย โออิกเอซิส ตัวนี้จึงชื่อว่า เอชทาโนอิกเอซิส  ใช้คำว่าอีเธนแล้วลงท้ายด้วยโออิกเอซิส หรือ ชื่อที่นิยมใช้คือ อะซิติกเอซิก ถ้ามีคาร์บอนสามตัวจะมีชื่อว่าโพรพาโนอิกเอซิสถ้าคาร์บอนสี่ตัวจะเรียกว่าบิวทาโนอิกเอซิส • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  42. File :sc124_14_39.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์      เป็นการเรียกชื่ออนุพันธ์ของกรดคาร์บอนซิลิกเอสเทอร์เอไมด์แอนไฮไดรด์  เอซิลคลอไรด์  และ ไนไตรล์ ให้ดูตามตารางว่าแต่ละตัวลงท้ายตามตารางว่าอะไรบ้างลองดูทีละตัวเลย • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงตารางขึ้นมาก่อน • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงตารางหมายเลขให้กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงตารางหมายเลขให้กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงตารางหมายเลขให้กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่  แสดงตารางหมายเลขให้กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่  แสดงตารางหมายเลขให้กระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  43. File :sc124_14_40.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์       Propanoic_anhydride ตัวอย่างการเรียกชื่อของอนุพันธ์ เริ่มจากแอซิสคลอไรด์ มีคาร์บอนอยู่สามตัวมีฟังก์ชันกรุ๊ปเป็น แอสซิสคลอไรด์ คาร์บอนสามตัวเรียกว่าเป็นโพรเพน แอสซิสคลอไรด์ต้องลงท้ายด้วยโออิวคลอไดร์ จึงเรียกชื่อว่าเป็นโพพาโนอิวคลอไรด์ แอนไฮดรายจะลงท้ายด้วยโออิกแอนไฮดราย  ถ้ามีคาร์บอนสองตัวเรียกว่าเอชทาโนอิกแอนไฮดราย ถ้าคาร์บอนสามตัวเป็นเป็นโพรพาโนอิดแอนไฮดราย  • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงเลขหนึ่งถึงสามกระพริบ • ให้ชื่อของสารPropanoic_anhydrideกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่วงกลมสีแดงสองอันข้างบนกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ วงกลมสีแดงสองอันข้างบนและอันข้างล่างก็กระพริบด้วย • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  44. File :sc124_14_41.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์         propanoylchloride Methyl methanoate การเรียกชื่อของเอสเธอร์ จะต้องรู้ว่ามีออกซิเจนตัวนี้มีอัลธิลกรุ๊ปมาเกาะ จะเรียกชื่ออัลธิลกรุ๊ปนี้ก่อน แล้วค่อยนับคาร์บอนของอีกฝั่ง โดยที่อัลธิลกรุ๊ปที่มาเกาะ กับออกซิเจนจะลงท้ายด้วยวายเอล ส่วนชื่อของคาร์บอนที่เป็นสายหลักจะลงท้ายด้วยโอเอช  เช่นตัวอย่างอัลทิลกรุ๊ปที่มาเกาะจะมีตัวเดียวตัวเดียวจะใช้คำว่าเมทิล อีกข้างมีคาร์บอนสองตัวจะใช้คำว่าเอช จึงชื่อ เมทิลเมทธาโนเอท • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความหมายเลขหนึ่งและวงกลมสีแดงกระพริบพร้อมกับตัวโอกระพริบและชื่อ propano กระพริบด้วย • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงคำว่า วายเอล กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดง วงกลมสีเขียวและคำว่าโอเอชกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่เฟดภาพลำดับที่หนึ่งหายไปเฟดภาพลำดับที่สองเข้ามาแทนที่ วงกลมสีแดงกระพริบด้วยพร้อมกับชื่อกระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  45. File :sc124_14_42.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์     Propyl   butanoate propyl_butanoate ตัวอย่างอัลธิลกรุ๊ปที่เกาะกับออกซิเจน มีคาร์บอนสามตัว  อีกด้านมีคาร์บอนสี่ตัว การเรียกชื่อต้องเริ่มจากข้างคาร์บอนสามตัวก่อนจึงเป็นโพรพิวบิวทาโนเอท  ส่วนข้างที่มีคาร์บอนสี่ตัวจึงเรียกว่าบิวทาโนเอช ดังนั้นสารนี้จึงชื่อว่าโพรพิลบิวทาโนเอช • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยาย ให้แสดงภาพลำดับที่ข้างที่มีหมายเลขสองกระพริบก่อน • เมื่อมีเสียงบรรยายให้แสดงภาพลำดับที่ข้างที่มีหมายเลขสามกระพริบก่อน • เมื่อมีเสียงบรรยาย ให้แสดงภาพข้างที่มีหมายเลขสองกระพริบพร้อมกับมีคำว่า proply ชี้ออกมา • เมื่อมีเสียงบรรยาย  ให้แสดงภาพข้างที่มีหมายเลขสามกระพริบพร้อมกับมีคำว่า butanoate ชี้ออกมา • เมื่อมีเสียงบรรยาย ให้แสดงชื่อหมายเลขและกระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  46. File :sc124_14_43.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์   propanamide สารประกอบเอมายด์ คล้ายกันลงท้ายด้วยเอมาย กรณีนี้มีคาร์บอนสามตัวจึงเรียกว่าเป็นโพรพานามายด์ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายให้แสดงภาพลำดับที่จากนั้นแสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  47. File :sc124_14_44.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • เอมีน           การเรียกชื่อของเอมีนซึ่งเอมีนหน้าตาคล้ายกับแอมโมเนีย  ถ้าไนโตรเจนเกาะกับไนโตรเจนสามตัวเรียกว่า แอมโมเนีย ถ้าเปลี่ยนไนโตรเจนตัวหนึ่งไปเป็นอัลธิลกรุ๊ปอะไรก็ได้จะเรียกว่าเป็นไพรมารีเอมีน  ถ้ามีอาร์กรุ๊ปสองกรุ๊ปจะเป็นเซคคัลดารีเอมีน  ถ้ามีอาร์กรุ๊ปสามกรุ๊ปเป็นเทชเชอรี่เอมีน ถ้ามีอาร์กรุ๊ปสี่กรุ๊ปจะเป็นควอเทนนารีเอมีน โดยใช้เป็นสัญลักษณ์คือเลขหนึ่งมีเครื่องหมายองศา • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่โดยวงกลมสีแดงกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่ โดยวงกลมสีแดงกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ โดยวงกลมสีแดงกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป แอมโมเนีย 1o 2o 3o 4o

  48. File :sc124_14_45.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • เอมีน   เอมีนปฐมภูมิ คำเสริมท้าย = -amine คำเสริมหน้า = amino การเรียกชื่อเอมีนปฐมภูมิมีอยู่ด้วยกันสองแบบ เรียกเป็น alkyl amine เรียกเป็น alkanamine   ethylamine or ethanamine  การเรียกชื่อแบบไพรมารีเอมีนกันก่อน ถ้ามีคาร์บอนสองตัวจะได้เป็นเอททิลลงท้ายด้วยเอมีน จะได้เป็นเอทิลนามีน หรือเรียกว่า เอทานามีนก็ได้สามารถเรียกได้สองแบบ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายให้แสดงภาพและชื่อพร้อมข้อความทั้งสามข้อความ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  49. File :sc124_14_46.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • เอมีน   cyclobutylamineor cyclobutanamine  ถ้าเป็นวงแหวนสี่เหลี่ยมเรียกว่าไซโคลบิวทิวลงท้ายด้วยเอมีน คือเป็นไซโคบิวทิวเอมีน หรือไซโครบิวทานามีนก็ได้ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายให้แสดงภาพลำดับที่จากนั้นแสดงข้อความลำดับที่ และ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

  50. File :sc124_14_47.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • เอมีน  • การเรียกชื่อเอมีนทุติยภูมิ • หมู่อัลคิลทั้งสองหมู่แตกต่างกัน หมู่ที่มีจำนวนอะตอมของคาร์บอนต่อกันเป็นสายยาวมากกว่าจะเป็นสายหลัก • สายที่น้อยกว่าจะเป็นหมู่แทนที่ • ตัวอักษร N ใช้สำหรับระบุว่าหมู่อัลคิลเกาะอยู่กับอะตอมของไนโตรเจน    N-methylethyl amine หรือN-methylethanamine เซคคัลดารีเอมีน จะมีมีเมทธิลกรุ๊ปสองกรุ๊ปมาเกาะดูว่าตัวไหนยาวกว่ากันตัวนั้นจะเป็นสายหลัก ในกรณีจะเป็นจะเรียกว่าเอนเมทิลเอชทิลลามีน คือ สายหลักของมันมีคาร์บอนสองตัวเรียกว่าเอชทิลลามีน แต่เอชทิลลามีนมีคาร์บอนอีกตัวมาเกาะ ตัวนี้จึงเรียกว่า เมนเมนทิลเอชทานามีน โดยต้องบอกด้วยเมทิลที่มาเกาะมาเกาะที่ตำแหน่งใด กรณีนี้มาเกาะที่ตัวเอ็นจึงเรียกว่าเอ็นเมนทิลเมททิวลามีน หรือ เรียกว่า เอ็นเมนทิลเอชเอชทานามีน • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่พร้อมข้อความลำดับที่และข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่  แสดงภาพวงกลมสีแดงล้อมรอบกระพริบพร้อมแสดงชื่อที่ตัวเอ็นกระพริบพร้อมข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป

More Related