1 / 32

120006- Human behavior and self Development

120006- Human behavior and self Development. Chotika Thamviset @ RMU. C -2 : ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม. Chapter 2 : ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรมมนุษย์. Chotika Thamviset@RMU. สังคม วิทยา. จริยธรรม. C -2 : ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม. ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม. ชีวภาพ. จิตวิทยา.

marrim
Download Presentation

120006- Human behavior and self Development

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 120006-Humanbehavior and self Development Chotika Thamviset @RMU

  2. C-2 :ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม Chapter 2 : ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรมมนุษย์ ChotikaThamviset@RMU

  3. สังคมวิทยา จริยธรรม C-2 :ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม ชีวภาพ จิตวิทยา ChotikaThamviset@RMU

  4. C-2 :ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม ส่วนที่ 1 ปัจจัยพื้นฐานด้านชีววิทยา • พันธุกรรม • พันธุกรรม หมายถึง การถ่ายทอดลักษณะและลักษณะทางชีวภาพ จากคนหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง โดยผ่านยีนส์ (Genes) ChotikaThamviset@RMU

  5. C-2 : ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรมมนุษย์ • การถ่ายทอดทางพันธุกรรม ยีนส์- หน่วยพื้นฐานการถ่ายทอดพันธุกรรม - ทำให้ลักษณะทางชีวภาพของบุคคลแตกต่างกัน - อยู่คงที่ภายในโคโมโซม ไม่มีการเปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะถ่ายทอดไปกี่ชั่วคน การถ่ายทอดทางพันธุกรรม มี 2 แบบ - ถ่ายทอดแบบปกติ และถ่ายทอดแบบไม่ปกติ

  6. C-2 : ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรมมนุษย์ • การถ่ายทอดทางพันธุกรรม ความสูง อื่นๆ สีผิว พันธุกรรม สีตา สีผม ความฉลาด ความคล่อง

  7. C-2 : ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรมมนุษย์ อิทธิพลของพันธุกรรมที่มีต่อลักษณะและพฤติกรรมของบุคคล ด้านร่างกาย พันธุกรรมจะมีอิทธิพลโดยตรงต่อลักษณะร่างกายของบุคล เช่น ความสูง น้ำหนัก และส่งผลต่อบุคลิกภาพของบุคคล ด้านสติปัญญา แบ่งเป็น - ปัจจัยเกิดจากพันธุกรรม มีผลต่อความสามารถทางสติปัญญาของบุคคล - ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม เช่น การเลี้ยงดู ฯลฯ

  8. C-2 : ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรมมนุษย์ อิทธิพลของพันธุกรรมที่มีต่อลักษณะและพฤติกรรมของบุคคล งานวิจัย ได้ค้นคว้าอิทธิพลที่มีผลต่อความสามารถทางสมอง พบว่า ศักยภาพ ความสามารถทางสติปัญญา ได้รับอิทธิพลมาจากพันธุกรรม เช่น กรณีแฝดไข่ใบเดียวกันมีความสัมพันธ์ทางสติปัญญาในระดับสูง แม้ว่าจะแยกกันเลี้ยงดู สรุป พันธุกรรมมีอิทธิพลต่อสติปัญญาของบุคคล

  9. C-2 : ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรมมนุษย์ 2. อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม ระบบโครงกระดูก ระบบกล้ามเนื้อ ระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบหายใจ ระบบสืบพันธุ์ ระบบประสาท ระบบต่อม ระบบขับถ่าย ระบบย่อยอาหาร

  10. C-2 : ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรมมนุษย์ ระบบประสาท ( The nervous system)

  11. C-2 : ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรมมนุษย์ ระบบประสาทส่วนกลาง ไขสันหลังและสมอง ระบบประสาท ( The nervous system) ระบบประสาทส่วนปลาย :ประสาท สมอง ไขสันหลัง และระบบประสาทอัตโนมัติ

  12. C-2 : ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรมมนุษย์ รูปร่างเซลล์ประสาท

  13. C-2 :ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม ระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous System : CNS - สมอง (Brain) • มีความสำคัญที่สุด หนัก 3 ปอนด์ • ละเอียด และซับซ้อน • มีหน้าที่ควบคุม ความคิด ความจำ การทำงานของ กล้ามเนื้อ ต่อม ความรู้สึก • ทำให้ร่างกายทำงานอย่างมีระบบ ChotikaThamviset@RMU

  14. C-2 :ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม สมอง (Brain) มี 3 ส่วน • ส่วนหน้า • สมองส่วนกลาง • สมองส่วนท้าย

  15. C-2 :ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม - สมองส่วนหน้า (Forebrain) ขนาดใหญ่ที่สุด มีหน้าที่ ควบคุมพฤติกรรมที่ซับซ้อน มี 3 ส่วน 1 ทาลามัส จากการวิจัยหน้าที่ของทาลามัส ยังเป็นที่สงสัย 2 ไฮโปทาลามัส แสดงออก 2 ลักษณะ อันแรกแสดงออกลักษณะภายใน เช่น ใจสั่น หน้าแดง อันที่ 2 แสดงออกภายนอก ควบคุมความสมดุลของร่างกาย ความหิว อุณหภูมิ ความต้องการทางเพศ

  16. C-2 :ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม สมองส่วนหน้า (Forebrain) 3 ซีรีบรัม ขนาดใหญ่ ทำหน้าที่ เกี่ยวกับ อารมณ์ การเรียนรู้ ความคิดความจำ ประกอบด้วย 2 ซีก

  17. C-2 :ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม สมองส่วนกลาง ค่อนข้างเล็ก สัตว์ชั้นต่ำมีความสำคัญ มนุษย์สำคัญน้อยเพราะ แค่ทางผ่านของการรับรู้จากไขสันหลังไปสู่ชีรีบรัม และจากซีรีบรัม มาสู่ส่วนต่ำลงมา สมองส่วนท้าย ควบคุมการดำรงชีวิต ประกอบด้วย ซีรีเบลลัมและก้านสมอง - ซีรีเบลลัม รักษาความสมดุล ควบคุมกล้ามเนื้อเรียบและอวัยวะภายใน ควบคุมการทำงานของเซลล์ประสาทใน ไขสัน - ก้านสมองแบ่งเป็น เมดัลลา เป็นศูนย์ควบคุมระบบการหมุนเวียน ความดันโลหิต หายใจ การหลับ การไอ ChotikaThamviset@RMU

  18. C-2 :ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม สมองส่วนท้าย พอนส์ เป็นตัวเชื่อมระบบประสาท สั่งการระหว่างสมองใหญ่ และสมองน้อย ให้การเคลื่อนไหวร่างกายมีความสัมพันธ์กัน ระบบประสาทส่วนปลาย ประกอบด้วย ระบบประสาทกล้ามเนื้อ และระบบประสาทอัตโนมัติ - ระบบประสาทกล้ามเนื้อ อยู่ภายใต้การควบคุมของจิตใจ - ระบบประสาทอัตโนมัติ เป็นอิสระ ควบคุมกล้ามเนื้อเรียบ ควบคุมกล้ามเนื้อหัวใจ ควบคุมการทำงานของต่อม ChotikaThamviset@RMU

  19. ระบบประสาทอัตโนมัติ มี 2 ระบบ ระบบซิมพาเธติค เป็นระบบทำงานเด่น ในภาวะความเครียด (มีการตื่นตัว) ระบบ พาราซิมพาเธติค ร่างกายสงบ พักผ่อน ความดันโลหิตต่ำ (ทำงานในภาวะผ่อนคลาย)

  20. C-2 :ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม ระบบอัตโนมัติ และความเกี่ยวพันภายในอวัยวะต่างๆ ChotikaThamviset@RMU

  21. C-2 :ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม สรุประบบประสาท ระบบประสาท Nervous System ระบบประสาทส่วนกลาง CNS ระบบประสาทส่วนปลาย PNS สมอง Brain ไขสันหลัง Spinal Cord ระบบประสาทกาย SNS ระบบประสาทอัตโนมัติ (ANS) ซิมพาธีติก พาราซิมพาเธติค ChotikaThamviset@RMU

  22. C-2 :ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม 2. ระบบต่อม เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง ChotikaThamviset@RMU

  23. C-2 :ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม 2. ระบบต่อม เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง ประกอบด้วย ต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อ ChotikaThamviset@RMU

  24. C-2 :ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม 3. ระบบกล้ามเนื้อ เกี่ยวข้องกับการแสดงออก เคลื่อนไหว มี กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อลาย ChotikaThamviset@RMU

  25. C-2 :ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม 3. ระบบกล้ามเนื้อ เกี่ยวข้องกับการแสดงออก เคลื่อนไหว มี กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อลาย และกล้ามเนื้อหัวใจ ChotikaThamviset@RMU

  26. C-2 :ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม 3. ระบบกล้ามเนื้อ เกี่ยวข้องกับการแสดงออก เคลื่อนไหว มี กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อลาย และกล้ามเนื้อหัวใจ ChotikaThamviset@RMU

  27. C-2 :ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม ส่วนที่ 2 ปัจจัยพื้นฐานทางจิตวิทยา • อวัยวะสัมผัส ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง การทรงตัว • สิ่งเร้า • ความตั้งใจแน่วแน่ • การเรียนรู้ • ความเกี่ยวโยง • ระดับความรู้สึก รู้สึกตัว ครึ่งหลับครึ่งตื่น ไม่รู้ตัว ChotikaThamviset@RMU

  28. C-2 :ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม ส่วนที่ 3 ปัจจัยพื้นฐานทางสังคมวิทยา ประชากร วัฒนธรรม พฤติกรรม การรวมกันทางสังคม สถาบันต่างๆทางสังคม ทรัพยากรและธรรมชาติในพื้นที่ รูปแบบของการดำเนินชีวิต ChotikaThamviset@RMU

  29. C-2 :ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม เหคุพล พฤติกรรม ส่วนที่ 4 ปัจจัยพื้นฐานทางจริยธรรม เจตคติ ความรู้ ChotikaThamviset@RMU

  30. กิจกรรม ฉันต้องการ?เป้าหมาย กิจกรรม สร้างสัมพันธภาพและเรียนรู้ความต้องการของผู้อื่น • วิธีการ ดำเนินกิจกรรม • แจกบัตรให้ทุกคน 1 แผ่น • เขียนชื่อ-นามสกุลให้เรียบร้อยมุมขวามือ • เขียนโจทย์ต่อไปนี้ลงในบัตรของตน 3 ข้อเว้นคำตอบไว้ • สิ่งที่ข้าพเจ้าต้องการมากที่สุดคือ....................... • ลักษณะของคนที่ข้าพเจ้าชอบมากที่สุด คือ ................... • ลักษณะของคนที่ข้าพเจ้าเกลียดมากที่สุดคือ............................

  31. กิจกรรม ฉันต้องการ?เป้าหมาย กิจกรรม สร้างสัมพันธภาพและเรียนรู้ความต้องการของผู้อื่น • 4.ให้แต่ละคนนำบัตรมาคืน • 5.ผสมบัตรให้เข้ากันแจกบัตรโดยผู้รับต้องไม่ใช่เจ้าของชื่อในบัตร • 6. ให้ผู้ถือบัตรหาเจ้าของชื่อให้เร็วที่สุดและหาคำตอบให้ได้ 3 ข้อ ลงชื่อผู้สัมภาษณ์แล้วคืนอาจารย์ • 7. อาจารย์สุ่มบัตรที่นักศึกษาเอามาคืน สอบถามผู้สัมภาษณ์ที่มีชื่ออยู่บัตรว่าคนที่เขาสัมภาษณ์ได้ข้อมูลอะไรบ้าง ชื่อว่าอะไร • 8. สรุปกิจกรรม

More Related