1 / 80

ชุด วิชาทหาร และกิจการระหว่างประเทศ

ชุด วิชาทหาร และกิจการระหว่างประเทศ. หลักสูตรทั่วไป โรงเรียนนายทหารเรือชั้นต้น. บรรยายโดย น.ท .หัส ไชยญ์ มั่งคั่ง อจ .กวม ศ.ฝ วก. ยศ.ทร. ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs. ความสำคัญ.

marni
Download Presentation

ชุด วิชาทหาร และกิจการระหว่างประเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ชุดวิชาทหารและกิจการระหว่างประเทศชุดวิชาทหารและกิจการระหว่างประเทศ หลักสูตรทั่วไป โรงเรียนนายทหารเรือชั้นต้น บรรยายโดย น.ท.หัสไชยญ์ มั่งคั่ง อจ.กวมศ.ฝวก.ยศ.ทร.

  2. ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs ความสำคัญ • พื้นฐานองค์การระหว่างประเทศและกิจการระหว่างประเทศจะปูพื้นฐานให้เห็นภาพรวมของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและความมั่นคงแห่งชาติทั้งหมด • ภาพรวมแยกได้เป็นมิติของความมั่นคง ปัจจัยที่กระทบต่อความมั่นคง ปฏิสัมพันธ์ของประเทศต่างๆ และผลกระทบ

  3. ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs ความมุ่งหมายและขอบเขตการศึกษา • ให้ นทน. เข้าใจ องค์การระหว่างประเทศและกิจการระหว่างประเทศที่กระทบต่อความมั่นคงภายในและระหว่างประเทศ • หัวข้อวิชาได้แก่ ๑) องค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงแห่งชาติ ๒) ทหารและกิจการระหว่างประเทศ ๓) แก้ปัญหารายบุคคล

  4. หัวข้อวิชาองค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงแห่งชาติหัวข้อวิชาองค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงแห่งชาติ

  5. องค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงแห่งชาติองค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงแห่งชาติ • เพื่อให้ทราบที่มา ความมุ่งหมาย บทบาทและปัญหาอุปสรรคขององค์การระหว่างประเทศที่สำคัญและมีผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศต่างๆ • เพื่อศึกษาความสัมพันธ์และผลกระทบขององค์กรเหล่านี้ที่มีผลต่อความมั่นคงของไทย

  6. ขอบเขตการศึกษา • แนวความคิดเรื่องความร่วมมือเพื่อความมั่นคงร่วม (Collective Security) • บทบาทและความสำคัญขององค์การระหว่างประเทศ • ผลกระทบจากปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในต่อความมั่นคงของชาติและประชาชน

  7. หัวข้อการบรรยายองค์การระหว่างประเทศหัวข้อการบรรยายองค์การระหว่างประเทศ

  8. แนวคิดทฤษฎีขององค์การระหว่างประเทศแนวคิดทฤษฎีขององค์การระหว่างประเทศ • สำนักเสรีนิยม (liberalism) มีรากฐานมาจากการมองธรรมชาติของรัฐว่าสามารถร่วมมือกันได้แม้กระทั่งเรื่องของความมั่นคง Immanuel Kant Woodrow Wilson Michael W. Doyle

  9. ประเภทขององค์การระหว่างประเทศประเภทขององค์การระหว่างประเทศ

  10. แนวคิดความร่วมมือเพื่อความมั่นคงร่วมแนวคิดความร่วมมือเพื่อความมั่นคงร่วม • แนวคิดความมั่นคงร่วม (collective security) นำเสนอโดยประธานาธิบดีวูดโรว์วิลสัน (Woodrow Wilson) • ประเด็นสำคัญคือ “ประเทศต่างๆ ควรผูกพันเข้าด้วยกันเพื่อปกป้องบูรณภาพซึ่งกันและกัน ถ้าประเทศหนึ่งละเมิด ก็จะถูกประเทศที่เหลือต่อต้านด้วยสงครามเพื่อลงโทษ” • สันนิบาตชาติ (League of Nations) เกิดขึ้นหลังจากนั้น

  11. แนวคิดความร่วมมือเพื่อความมั่นคงร่วมแนวคิดความร่วมมือเพื่อความมั่นคงร่วม • ช่วงที่สงครามโลกครั้งที่ ๒ ใกล้สิ้นสุดลง ประธานาธิบดี แฟรงกลิน ดี รูสเวลต์(Franklin D. Roosevelt) รื้อฟื้นระบบความมั่นคงร่วมกันขึ้นมาอีกครั้ง • สหประชาชาติได้รับการสถาปนาขึ้นจากตัวแบบสันนิบาตชาติในฐานะกลไกสำคัญในการบรรลุความมั่นคงร่วมกัน • สหประชาชาติถือว่าประสบความสำเร็จถึงระดับหนึ่ง

  12. 1 2 3

  13. พัก ๑๐ นาที

  14. ที่มาและจุดมุ่งหมายขององค์การระหว่างประเทศที่มาและจุดมุ่งหมายขององค์การระหว่างประเทศ

  15. อาเซียน • คำถาม ที่มา จุดมุ่งหมายและบทบาทของอาเซียน • อาเซียนเริ่มก่อตัวขึ้นจากสมาคมอาสา หลังจากปฏิญญากรุงเทพ อาเซียนจึงถือกำเนิดขึ้นจากสมาชิก ๕ ประเทศ • จุดมุ่งหมายเพื่อความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมและต้องการให้เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นพื้นที่สันติภาพ • อาเซียนช่วยสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้กับประเทศสมาชิก

  16. เออาร์เอฟ • คำถาม ที่มา จุดมุ่งหมายและบทบาทของเออาร์เอฟ • เออาร์เอฟเกิดขึ้นในปี ค.ศ.๑๙๙๓ หลังจากการประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนครั้งที่ ๒๖ ที่สิงคโปร์ • วัตถุประสงค์เพื่อเป็นเวทีในการปรึกษาหารือในประเด็นปัญหาเรื่องการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค • บทบาทสำคัญคือการประสานความแตกต่างในภูมิภาค

  17. องค์การการค้าโลก • คำถาม ที่มา จุดมุ่งหมายและบทบาทขององค์การการค้าโลก • สังกัดสหประชาชาติ จัดตั้งขึ้นแทนแกตต์ในวันที่ ๑ ม.ค.๓๘ สำนักงานใหญ่อยู่ที่เจนีวา • จุดมุ่งเพื่อให้การเจรจาการค้าและบริการบรรลุผล • เป็นเวทีสำหรับเจรจาต่อรองและขจัดข้อขัดแย้งในเงื่อนไขและกฎเกณฑ์ทางการค้าและบริการระหว่างสมาชิก

  18. เอเปก • คำถาม ที่มา จุดมุ่งหมายและบทบาทของเอเปก • ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิกเป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างเขตเศรษฐกิจในภูมิภาค ตั้งขึ้นในปี พ.ศ.๒๕๓๒ • จุดมุ่งหมายเน้นความเจริญเติบโตและการพัฒนาที่ยั่งยืนของภูมิภาค และถ่วงดุลอำนาจทางเศรษฐกิจ

  19. สหประชาชาติ • คำถาม ที่มา จุดมุ่งหมายและบทบาทของสหประชาชาติ • เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สองแทนที่สันนิบาตชาติ ปัจจุบันมีสมาชิก ๑๙๓ ประเทศ • จุดมุ่งหมายหลักคือสันติภาพโลก • บทบาทสำคัญคือเป็นเวทียับยั้งสงครามระหว่างประเทศและเป็นเวทีสำหรับการเจรจาเพื่อยุติข้อพิพาท

  20. บทบาทขององค์การระหว่างประเทศบทบาทขององค์การระหว่างประเทศ • คำถาม องค์การระหว่างประเทศใดบ้างที่มีบทบาทในการเสริมสร้างความมั่นคงระหว่างประเทศ

  21. พัก ๑๐ นาที

  22. หัวข้อการบรรยายความมั่นคงแห่งชาติหัวข้อการบรรยายความมั่นคงแห่งชาติ

  23. แนวคิดทฤษฎีของความมั่นคงแห่งชาติแนวคิดทฤษฎีของความมั่นคงแห่งชาติ • ความมั่นคงแห่งชาติอธิบายได้จากหลายทฤษฎี ไม่ว่าจะเป็นสัจนิยมหรือเสรีนิยม • สัจนิยมมองภาพความมั่นคงว่าเป็นความรับผิดชอบของรัฐเอง ซึ่งที่สุดแล้วจะเป็นการร่วมกันเป็นพันธมิตร • ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับองค์การระหว่างประเทศคือแนวคิดเรื่องความมั่นคงร่วมกัน

  24. องค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงไทยองค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงไทย • คำถามองค์การระหว่างประเทศใดบ้างที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงของไทย • อาเซียนเกี่ยวข้องโดยตรงกับการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ-การเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีเออาร์เอฟเป็นกลไกด้านความมั่นคง • สหประชาชาติดูแลความมั่นคงระดับโลก

  25. องค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงไทยองค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงไทย • คำถามไทยเกี่ยวข้องกับอาเซียน เออาร์เอฟ เอเปก องค์การการค้าโลกและสหประชาชาติ อย่างไร • ในทางเศรษฐกิจ ไทยเป็นสมาชิกขององค์การการค้าโลก ส่วนในระดับภูมิภาคจะเป็นอาเซียนและเอเปก • ในทางความมั่นคง ไทยเป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ส่วนในระดับภูมิภาคจะเป็นเออาร์เอฟ

  26. องค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงไทยองค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงไทย • คำถามอาเซียน เออาร์เอฟ เอเปก องค์การการค้าโลกและสหประชาชาติมีส่วนเสริมสร้างความมั่นคงของไทยอย่างไร • ในเชิงบวก องค์การเหล่านี้จะเป็นช่องทางให้ไทยได้รับข้อมูลข่าวสารเพื่อการตัดสินใจด้านความมั่นคง • ในเชิงลบ กฎระเบียบขององค์การเหล่านี้จะจำกัดการใช้อำนาจของไทยเพื่อการรักษา

  27. องค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงไทยองค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงไทย • คำถามเอ็นจีโอคืออะไร มีบทบาทในการสร้างความมั่นคงของไทยหรือไม่ อย่างไร • เอ็นจีโอเกิดขึ้นจากกระแสต่อต้านองค์การระดับโลก โดยมองว่าองค์การเหล่านี้เป็นลัทธิล่าอาณานิคมใหม่ • เอ็นจีโอมองว่าพวกตนเองสามารถเข้าใจและดูแลผลประโยชน์ของกลุ่มตนเองได้ จึงมองได้ว่าต่อต้านรัฐบาล

  28. ประเด็นปัญหาความมั่นคงในปัจจุบันประเด็นปัญหาความมั่นคงในปัจจุบัน International Security

  29. หัวข้อวิชาทหารและกิจการระหว่างประเทศหัวข้อวิชาทหารและกิจการระหว่างประเทศ

  30. ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs ความมุ่งหมาย • เพื่อให้ทราบถึงบทบาทของทหารในกิจการระหว่างประเทศที่ผ่านมา ตลอดจนปัญหาอุปสรรคของทหารกับกิจการระหว่างประเทศที่สำคัญ • เพื่อศึกษาสถานการณ์และสภาวะแวดล้อมในระบบระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อบทบาททหารเพื่อเตรียมกำลังให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป

  31. ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs ขอบเขตการศึกษา • บทบาทของทหารในด้านการรักษาความมั่นคงของประเทศ • การเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อม กิจการระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อบทบาทของทหาร • บทบาทของทหารเพื่อเตรียมกำลังและความพร้อมให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลง

  32. ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs หัวข้อการบรรยายบทบาทของทหารที่เปลี่ยนแปลง

  33. ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs สภาวะแวดล้อมความมั่นคงหลังสงครามเย็น • คำถามสถานการณ์ความมั่นคงระหว่างประเทศในปัจจุบันเป็นอย่างไร • หลังสงครามเย็นสิ้นสุดลง โครงสร้างอำนาจของโลกได้เปลี่ยนไปเป็นแบบขั้วเดียวโดยมีสหรัฐอเมริกาเป็นเอกมหาอำนาจ ทำให้สหรัฐอเมริกาต้องเปลี่ยนแปลงวิธีคิดและแนวทางการดำเนินนโยบายและยุทธศาสตร์โลก

  34. ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs Communism = The East Liberal Democracy = The West Bipolarity

  35. ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs NATO Unipolarity

  36. American Hegemony NATO

  37. ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs สภาวะแวดล้อมความมั่นคงหลังสงครามเย็น • ในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑ ปัญหาสำคัญประการหนึ่งในระบบการเมืองโลกคือการก่อการร้าย ซึ่งจัดเป็นยุทธวิธีการใช้ความรุนแรงรูปแบบหนึ่งเพื่อการสื่อสารทางการเมือง • กระแสโลกาภิวัตน์ทำให้เกิดภาวการณ์ขึ้นต่อกันและกัน (interdependence) ในโลกเพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ จึงมีทั้งแนวคิดต่อต้านและสนับสนุน

More Related