320 likes | 746 Views
สารศึกษาประชากร. ผู้สอน. ผศ.อนงค์พร สมานชาติ. ค ำศัพท์ต่างๆ เกี่ยวกับประชากร. Fertility ภาวะเจริญพันธุ์. Natality ภาวะการเกิด. Live - birth การเกิดมีชีพ. Normal Period คลอดตามปกติ. Premature delivery. Premature birth. Legal birth ( legitimate ).
E N D
สารศึกษาประชากร ผู้สอน ผศ.อนงค์พร สมานชาติ
คำศัพท์ต่างๆ เกี่ยวกับประชากร Fertility ภาวะเจริญพันธุ์ Natality ภาวะการเกิด Live - birth การเกิดมีชีพ Normal Period คลอดตามปกติ Premature delivery Premature birth Legal birth ( legitimate ) Illegal birth
Tree balancing Equation Pt - Po = B - D + I - E Pt = จำนวนประชากรในช่วงที่กำหนดตอนปลาย Po = จำนวนประชากรตอนต้นช่วง B = จำนวนการเกิดในช่วงเดียวกัน D = จำนวนการตาย I = การย้ายเข้า immigrants E = การย้ายออก emigrants De jure pop ใช้สำหรับนักท่องเที่ยว De facto ใช้สำหรับการ เข้า - ออก นอกประเทศ
แหล่งของข้อมูลประชากรแหล่งของข้อมูลประชากร • สำมะโนประชากร Population census • การจดทะเบียน Registration • การสำรวจ Survey
หลักของการทำสำมะโนประชากรหลักของการทำสำมะโนประชากร • รวมประชากร • กำหนดเวลา • จำแนกตัวเลข เพื่อบันทึกคุณลักษณะ • กำหนดอาณาเขต • รวบรวมผลเป็นตัวเลขสถิติ
การเก็บตัวเลข 2 ข้อมูล 2 แบบ (population census ) 1.De facto ตามพฤตินัย 2.De jure ตามนิตินัย
หลักการเก็บข้อมูล 1. การแจงนับตามพฤตินัย De facto basis ยึดหลักประชากร ที่อยู่ขณะนั้นเป็นตัวเลขจริง (actual population) 2. การแจงนับตามนิตินัย De jure basis ยึดสถานที่ ที่เขาอยู่ประจำ แม้จะไม่อยู่ในขณะนั้น (resident population)
ประชากรที่ไม่อยู่ในข่ายข้อมูลประชากรที่ไม่อยู่ในข่ายข้อมูล • ประชากรที่ไม่อยู่เป็นที่ ชาวเขา ชาวน้ำ (อาศัยในเรือ) อาศัยกระจัดกระจายไม่เป็นหมู่บ้าน • คณะเจ้าหน้าที่ กรม กองฝ่ายทหาร ทูต • บุคคลต่างด้าว ที่เข้าในประเทศน้อยกว่า 3 เดือน
การจดทะเบียน คือ การบันทึกคุณลักษณะของสถิติชีพ (Vital Statistics) เกิด ตาย สมรส หย่าร้าง การสำรวจ การเก็บตัวเลขโดยการสำรวจ จากกลุ่มตัวอย่าง ที่สุ่มมาโดยวิธีต่างๆ
ตารางที่ 1 ประชากรตามนิตินัยในวันกลางปี จำแนกตามหมวดอายุ เพศ และภาค พ.ศ. 2538-39 TABLE 1 DE JURE MID-YEAR POPULATION BY AGE GROUP, SEX AND REGIONS: 1995-96 ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2540
ตารางที่ 1-1 ประชากรตามนิตินัยในวันกลางปี จำแนกตามหมวดอายุ เพศ และภาค พ.ศ. 2538-39 TABLE 1-1 DE JURE MID-YEAR POPULATION BY AGE GROUP, SEX AND REGIONS: 1995-96 ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2540
ตารางที่ 1-2 ประชากรตามนิตินัยในวันกลางปี จำแนกตามหมวดอายุ เพศ และภาค พ.ศ. 2538-39 TABLE 1-2 DE JURE MID-YEAR POPULATION BY AGE GROUP, SEX AND REGIONS: 1995-96 ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2540
ตารางที่ 1-3 ประชากรตามนิตินัยในวันกลางปี จำแนกตามหมวดอายุ เพศ และภาค พ.ศ. 2538-39 TABLE 1-3 DE JURE MID-YEAR POPULATION BY AGE GROUP, SEX AND REGIONS: 1995-96 ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2540
ตารางที่ 1-4 ประชากรตามนิตินัยในวันกลางปี จำแนกตามหมวดอายุ เพศ และภาค พ.ศ. 2538-39 TABLE 1-4 DE JURE MID-YEAR POPULATION BY AGE GROUP, SEX AND REGIONS: 1995-96 ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2540
ตารางที่ 1-5 ประชากรตามนิตินัยในวันกลางปี จำแนกตามหมวดอายุ เพศ และภาค พ.ศ. 2538-39 TABLE 1-5 DE JURE MID-YEAR POPULATION BY AGE GROUP, SEX AND REGIONS: 1995-96 ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2540
ตารางที่ 2 จำนวนและอัตราร้อยละของคนเกิด จำแนกตามสถานที่เกิด และภาค (รอบ 2 ถึง รอบ 5) TABLE 2 NUMBER AND THE PERCENTAGE OF BIRTHS BY PLACE OF BIRTHS AND REGIONS (ROUND 2 TO ROUND 5) ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2540
ตารางที่ 2-1 จำนวนและอัตราร้อยละของคนตาย จำแนกตามสถานที่ตาย และภาค (รอบ 2 ถึง รอบ 5) TABLE 2-1 NUMBER AND THE PERCENTAGE OF DEATHS BY PLACE OF DEATHS AND REGIONS (ROUND 2 TO ROUND 5) ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2540
ตารางที่ 2-2 จำนวนคนเกิด และคนตายทั้งปี จำแนกตามเพศ และภาค TABLE 2-2 NUMBER OF BIRTHS AND DEATHS BY SEX AND REGIONS ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2540
องค์ประกอบของประชากร ( Population composition ) ประชากร - ชุมชนใหญ่ กลุ่มใหญ่ มากกว่าคนใดคนหนึ่งหรือกลุ่มเล็กๆ การแจงนับประชากรจึงมีลักษณะดังนี้
ส่วนประกอบทางอายุ และเพศ อายุมัธยฐาน ( Median Age ) - อายุที่แบ่งประชากรออกเป็น 2 ส่วน เท่าๆกันคือ 1. อายุแก่กว่ามัธยฐาน 2. อายุอ่อนกว่ามัธยฐาน อัตราส่วนทางเพศ - อัตราส่วนของชายต่อหญิงในประชากรกลุ่มหนึ่ง มักจะออกในรูปร้อยละ จำนวนผู้ชาย จำนวนผู้หญิง x 100
หนุ่มสาว - ผู้สูงอายุแตกต่างกันในเรื่อง ๏ ความสามารถในการผลิต ๏ ปัญหาและความต้องการ ๏ วิถีชีวิต
เชื้อชาติ สัญชาติ สีผิว มีผลด้านอายุขัย เฉลี่ย Life Expectancy เช่น ๏ ชนกลุ่มน้อย มีอายุเฉลี่ยต่ำ ๏ คนอายุ 0 - 75 ปี ทุกสีผิวมีอัตราตายสูงกว่า คนผิวขาว ๏ เชื้อชาติผสม อัตราตายสูงกว่าเชื้อชาติเดียว ยกเว้นพวกปาร์ซี ( Parsis ) อายุขัยเฉลี่ยสูงกว่าอินเดีย
เชื้อชาติ สีผิว สัญชาติ มีผลกระทบ คือ ๏ สถานที่ที่จะได้รับอนุญาติให้อยู่อาศัย Residency ๏ โรงเรียนที่จะให้เข้าศึกษา ๏ ชนิดของแรงงาน ๏ ประเภทของงาน ๏ จำนวนเงินที่คาดว่าจะได้รับ ฯลฯ
ภาษา ความแตกต่างทำให้เกิดผล ๏ ชนกลุ่มน้อย ๏ ความขัดแย้งระหว่างประเทศ ๏ ความมั่นคงภายใน ๏ การพัฒนาการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม และการสื่อสาร
ลักษณะประชากรที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงประชาการลักษณะประชากรที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงประชาการ พิจารณาที่องค์ประกอบต่างๆ ดังนี้ อายุ Age ประชากรกลุ่มใดมีอายุ 15 ปี คือ 59 ปี เรียกกลุ่มอายุน้อย หรือ กลุ่มหนุ่มสาว กลุ่มใด 60 ปี เกิน 10 % เรียกกลุ่มผู้สูงอายุ การเพิ่มประชากรจึงถือ การเพิ่มโดยส่วนรวม
เพศ (Sex) รวมประชากรทุกเกณฑ์อายุ โดยแยกพิจารณาแต่ละเพศ อัตราส่วนพึ่งพิงทางอายุ - บุคคลที่อยู่ในวัยพึ่งพิง อายุต่ำกว่า 15 ปี และ 65 ปี ขึ้นไป ต่อบุคคลในวัย “ผู้ผลิตทางเศรษฐกิจ” ( อายุ 15 - 64 ปี ) ประชากรอายุต่ำกว่า 15 ปี + ประชากรอายุ 64 ปีขึ้นไป ประชากรอายุ 15 - 64 ปี x100
สถานภาพในการสมรส Marital Statusมีผลกระทบต่อ ๏ อัตราเกิดอย่างหยาบ ( CBR ) ๏ ภาวะเจริญพันธุ์ ๏ ปัญหาสังคม เช่น การฆ่าตัวตาย ชายมากกว่าหญิง คนโสดมากกว่า คนมีครอบครัว ๏ ที่อยู่อาศัย ๏ กลุ่มสังคม ๏ ลักษณะนันทนาการ
รายได้การศึกษา Income & Education พิจารณา ๏ จำนวนและสัดส่วนของประชากร วัยหนุ่มสาวที่อยู่ในโรงเรียนของแต่ละระดับ ๏ จำนวนปีที่ต้องศึกษาตามเกณฑ์บังคับ ๏ อายุที่สามารถประกอบอาชีพ ( ปัญหาการใช้แรงงานเด็ก )
ความสัมพันธ์ระหว่างอายุและเพศ Age & Sex ชาย - หญิง แตกต่างกันที่ ๏ ชนิดของงาน ๏ เวลาที่ใช้ในการทำงาน ๏ รายได้ ๏ รูปแบบการกินอยู่ ๏ เจตคติต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคม