1 / 5

การสร้างโอกาสทางอาชีพ ในจังหวัดอุดรธานี หนองบัวลำภู หนองคาย เลย จากการจัดอาชีวศึกษา

 อุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม  อุตสาหกรรมเกษตร. อุตสาหกรรม เป้าหมาย. การสร้างโอกาสทางอาชีพ ในจังหวัดอุดรธานี หนองบัวลำภู หนองคาย เลย จากการจัดอาชีวศึกษา. สถานประกอบการ. นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ. ผู้ใช้. เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น.

marius
Download Presentation

การสร้างโอกาสทางอาชีพ ในจังหวัดอุดรธานี หนองบัวลำภู หนองคาย เลย จากการจัดอาชีวศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม  อุตสาหกรรมเกษตร อุตสาหกรรม เป้าหมาย การสร้างโอกาสทางอาชีพ ในจังหวัดอุดรธานี หนองบัวลำภู หนองคาย เลยจากการจัดอาชีวศึกษา สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ  ศูนย์วิทยุชุมชน  อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน  ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน  สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน  ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน) •  ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน • เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ • เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ • เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน • คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ  การบริหารจัดการกำลังคน •  เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  2. จังหวัดอุดรธานี สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 890 แห่ง (สปช. 817 แห่ง สศ.73 แห่ง) สังกัด เอกชน 86 แห่ง สังกัด กศน. 19 แห่ง สังกัด สกอ. 4 แห่ง สังกัด สอศ. 9แห่ง 1. วท.อุดรธานี 2. วท.กภ.อุดรธานี 3. วอศ.อุดรธานี 4. วบท.อุดรธานี 5. วษท.อุดรธานี 6. วช.อุดรธานี 7. วก.กุมภวาปี 8.วก.บ้านผือ 9. วก.หนองหาน • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • เป็นจังหวัดใหญ่ที่เป็นศูนย์กลางการคมนาคมและ • การท่องเที่ยวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • ทิศใต้มีเขตติดต่อกับจังหวัดเศรษฐกิจของภาคและ • ประเทศไทย คือ จังหวัดขอนแก่น • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 38,112บาท ต่อปี (อันดับ 3 ของ • ภาค อันดับ 55 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจาก การขายส่ง • การขายปลีก มีมูลค่าการผลิต 24.19% รองลงมาจาก • ภาคเกษตร 16.43 % และสาขาการผลิตอุตสาหกรรม • 12.41% • พืชเศรษฐกิจของจังหวัด • อ้อยโรงงาน ข้าว มันสำประหลัง และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ • ประชากร • จำนวนประชากร 1,523,802 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 จำนวน 121,313 คน หรือ11.72% • จำนวนผู้ว่างงาน 13,239 คน เป็นชาย 9,708 คน เป็นหญิง 3,531 คน อัตราการว่างงาน 1.9 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 278,374 คนหรือ 41.70%ลำดับรองลงมาคือ อาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 120,641 คน หรือ 18.07 % และพนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด 85,346 คน หรือ • 12.78 % • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) การทำดอกไม้ประดิษฐ์ 2) การทำเทียนเจล 3) การทำดอกไม้มงคล • 4) การทำตุ๊กตาบาร์บี้ 5) การผลิตปลาล้าบอง 6) การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก • 7) การซ่อมรถไถเดินตาม 8) การผลิตของที่ระลึกจากผ้าพื้นเมือง • 9) การทำอาหารสำเร็จรูปประเภทแจ่วบอง 10) ผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหาร (ปลาดุกเส้น/ปลาดุกแดดเดียว) 11) การทำอาหารสำเร็จรูปประเภทแจ่วบอง (ที่มา อศจ.อุดรธานี) • ประชากรอายุ15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 233,356 คน หรือ 36.58% ลำดับรองลงมาลูกจ้างเอกชน 221,565 คน หรือ 34.73% และช่วยธุรกิจครัวเรือน125,948 คน หรือ 19.74 % • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 5,234 คน หรือ 0.78% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น- • ต่ำกว่าประถมศึกษา 538,063 คน หรือ 80.60% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 24,034 คน หรือ 3.60% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 1 แห่ง มีการจ้างงาน 501 คน ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  3. จังหวัดหนองบัวลำภู สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 344 แห่ง (สปช. 322 แห่ง สศ.22 แห่ง) สังกัด เอกชน 13 แห่ง สังกัด กศน. 6 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 2 แห่ง 1. วท.หนองบัวลำภู 2. วก.ศรีบุญเรือง • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศตะวันออกและทิศใต้ มีเขตติดต่อกับจังหวัด • เศรษฐกิจของภาคและประเทศ คือจังหวัดขอนแก่น • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 17,799บาท ต่อปี (อันดับ19 • ของภาค อันดับ 75 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับ จากสาขาภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 26.66% รองลงมาการผลิตอุตสาหกรรม • 12.95% และการขายส่ง การขายปลีก 12.94 % • พืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัด • ข้าว ข้าวโพด มันสำปะหลัง อ้อย • ประชากร • จำนวนประชากร 496,657คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 จำนวน38,838 คน หรือ 11.41% • จำนวนผู้ว่างงาน 7,615 คน เป็นชาย 5,710 คน เป็นหญิง 1,904 คน อัตราการว่างงาน 1.0 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน 217,089 คนหรือ 54.06% ลำดับรองลงมาคือ อาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 56,546 คน หรือ 14.08 % • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) จักสาน 2) ทอเสื่อ ทอผ้า 3) ไม้ดอก ไม้ประดับ 4) แปรรูปปลา • 5) ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ (หม่ำ) 6) ขนม 7) ปลาร้าบอง 8) ดอกไม้จัน • 9) เลี้ยงจิ้งหรีด 10) เลี้ยงผึ้ง (ที่มา อศจ.หนองบัวลำภู) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 158,246 คน หรือ 39.41% ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจครัวเรือน 117,750 คน หรือ 29.32% และเป็นลูกจ้างเอกชน 86,565 คน หรือ 21.56% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 2,731 คน หรือ 0.68%โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น- • ต่ำกว่าประถมศึกษา 319,868 คน หรือ 79.66% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 7,333 คน หรือ 1.83% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 3 แห่ง มีการจ้างงาน 1,271 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ

  4. จังหวัดหนองคาย สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 551 แห่ง (สปช.493 แห่ง สศ.58 แห่ง) สังกัด เอกชน 48 แห่ง สังกัด กศน. 16 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 5 แห่ง 1. วท.หนองคาย 2. วทอ.หนองคาย 3. วอศ.หนองคาย 4. วก.บึงกาฬ 5. วก.เซกา • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • เป็นที่ตั้งของสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 1 มีจุด • ผ่านแดนและผ่อนปรนระหว่าง ไทย-ลาว 5 จุด • ทิศเหนือ ติดแม่น้ำโขงอันเป็นเส้นกั้นพรหมแดน • ระหว่างประเทศไทยกับประเทศฯลาว • ได้รับการจัดอันดับเป็นเมืองน่าอยู่ อันดับ 7 ของโลก • ปรากฎการณ์บ้องไฟพญานาค • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 28,772บาท ต่อปี (อันดับ 13 • ของภาค อันดับ 70 ของประเทศไทย) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 26.2 % รองลงมาการขายส่ง • การขายปลีก 21.39 % และสาขาการผลิต • อุตสาหกรรม 11.92% • อาชีพหลักของจังหวัด • ทำนาข้าว ยางพารา • ประชากร • จำนวนประชากร 896,099 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 จำนวน 33,914 คนหรือ 11.20% • จำนวนผู้ว่างงาน11,700 คน เป็นชาย 6,600 คน เป็นหญิง 5,100 คน อัตราการว่างงาน • 2.26 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 278,900 คนหรือ 55.03% ลำดับรองลงมาคือ อาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 52,400 คน หรือ 10.34 % • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ทำนา 2) ทำสวนยางพารา 3) ทำประมงน้ำจืด 4) เลี้ยงสัตว์ 5) ทำเกษตรฤดูแล้ง • 6) การแปรรูปผลิตภัณฑ์ทำจากน้ำยางพารา (ที่มา อศจ.หนองคาย) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 183,600 คน หรือ 36.23% ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจครัวเรือน 166,000 คน หรือ 32.75% และเป็นลูกจ้างเอกชน 100,900 คน หรือ 19.91% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 6,500 คน หรือ 1.28% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น • -ต่ำกว่าประถมศึกษา 413,600 คน หรือ 81.60% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 5,700 คน หรือ 1.12% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 60 แห่ง มีการจ้างงาน 1,817 คนรองลงมาอุตสาหกรรมเกษตร มีสถานประกอบการ 721 แห่ง การจ้างงาน 1,221 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ

  5. จังหวัดเลย สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 488 แห่ง (สปช. 454 แห่ง และ สศ. 34 แห่ง) สังกัด เอกชน 20 แห่ง สังกัด กศน. 13 แห่ง สังกัด สกอ. 2 แห่ง สังกัด สอศ. 4 แห่ง 1. วท.เลย 2. วอศ.เลย 3. วก.ด่านซ้าย 4. วก.วังสะพุง • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศเหนือ มีเขตติต่อกับประเทศฯลาว • ทิศใต้มีเขตติดต่อกับจังหวัดเศรษฐกิจหลักของภาค • และประเทศไทย คือจังหวัดขอนแก่น • มีแร่ธาตุที่อุดมสมบูรณ์ และมีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูง • ได้แก่ ทองคำ หินแกรนิต แรแบไรท์ หินปูน (หินอุต- • สาหกรรม) ถ่านหิน มังกานิส แร่ที่ผลิตได้มากที่สุดคือ • หินปูน • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 36,081บาท ต่อปี (อันดับ 4 ของ • ภาค อันดับ 60 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับ จากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 30.51% รองลงมาการขายส่ง • การขายปลีก 18.61% • อาชีพหลักและพืชเศรษฐกิจของจังหวัด • เกษตรกรรม ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวนาปี • มันสำปะหลัง การปศุสัตว์ การอุตสาหกรรมเหมืองแร่ • มันสำปะหลัง • ประชากร • จำนวนประชากร 612,422 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 จำนวน 45,597 คน หรือ 11.01% • จำนวนผู้ว่างงาน 533 คน เป็นชาย 399คน เป็นหญิง 134 คน อัตราการว่างงาน 0.1 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 229,673 คนหรือ 63.18% ลำดับรองลงมาคือ อาชีพขั้นพื้นฐานในด้านการขายและการให้บริการ 42,932 คนหรือ 11.81% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • ยังไมได้รับข้อมูลจาก อศจ. • ประชากรอายุ15 ปีขึ้นไป ช่วยธุรกิจครัวเรือนสูงที่สุด 142,661 คน หรือ 39.25 % ลำดับรอง • ลงมาทำงานส่วนตัว 132,312 คน หรือ 36.4% และเป็นลูกจ้างเอกชน 52,233 คน หรือ 14.37% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 8,086 คน หรือ 2.22% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 310,694 คน หรือ 85.47% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 3,179 คน หรือ 0.87% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ มีสถานประกอบการ 34 แห่ง มีการจ้างงาน 306 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ

More Related