480 likes | 594 Views
การวิเคราะห์ค่างาน : กรอบความก้าวหน้า. สู่ทศวรรษที่ 3. ม.20. พื้นฐาน ความก้าวหน้า. วิชาการ สนับสนุน. มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง. กรอบตำแหน่ง. สภาสถาบันอุดมศึกษา. อันดับเงินเดือน ของตำแหน่ง. จำนวนที่พึงมี. ( ประสิทธิภาพ / ความไม่ซ้ำซ้อน / ความประหยัด ). กรอบความก้าวหน้า. วิชาชีพเฉพาะ/
E N D
การวิเคราะห์ค่างาน : กรอบความก้าวหน้า สู่ทศวรรษที่ 3
ม.20 พื้นฐาน ความก้าวหน้า วิชาการ สนับสนุน มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง กรอบตำแหน่ง สภาสถาบันอุดมศึกษา อันดับเงินเดือน ของตำแหน่ง จำนวนที่พึงมี ( ประสิทธิภาพ / ความไม่ซ้ำซ้อน / ความประหยัด )
กรอบความก้าวหน้า วิชาชีพเฉพาะ/ เชี่ยวชาญเฉพาะ ทั่วไป ผู้บริหาร
การวางแผนกำลัง การสรรหาและการคัดเลือก การประเมินค่างานและการกำหนดค่าตอบแทน มาตรฐานในการประเมินผลงาน การพัฒนาบุคลากร วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์งาน
การวิเคราะห์งาน : กระบวนการรวบรวมข้อมูล 1. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ มีงานอะไรบ้าง 2. หน้าที่ความรับผิดชอบ อะไรบ้าง 3. ความรู้ ความสามารถ ทักษะ4. องค์ประกอบอื่น ๆ (3.-4. คุณลักษณะที่เหมาะสมกับงาน) -การกำหนดจำนวนที่เหมาะสม ความหมายการวิเคราะห์งาน
ลักษณะของงาน แสดงให้เห็นว่าผู้ดำรงตำแหน่ง ต้องปฏิบัติงานลักษณะใด ในฐานะ/บทบาทใด ซึ่งจะสะท้อนถึงความสำคัญ และคุณค่าของงานนั้น โดยจะต้องเขียนให้สอดคล้องกับลักษณะงาน ที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ที่ ก.พ.อ. กำหนด
ระดับความยากง่ายของงานระดับความยากง่ายของงาน แสดงให้เห็นคุณภาพของงาน ว่างานนั้นมีคุณภาพสูง-ต่ำ เพียงใด โดยพิจารณาจากธรรมชาติของงาน มิใช่คุณภาพของบุคคลผู้ดำรงตำแหน่ง โดยมีสาระบ่งชี้ ดังนี้ - ความรู้และประสบการณ์ - แนวทางการดำเนินงาน - ความคิดริเริ่ม - ความยุ่งยากซับซ้อน - ความหลากหลายของงาน
ระดับความรับผิดชอบของงานระดับความรับผิดชอบของงาน แสดงให้เห็นว่าตำแหน่งนั้น มีขอบเขตความรับผิดชอบ แค่ไหน ระดับใด โดยพิจารณาจากสาระสำคัญ ดังนี้ - การตัดสินใจ - ความอิสระในการปฏิบัติงาน - การบังคับบัญชา - ผลกระทบของงาน
ปัจจัยที่ 3 : ความรู้ที่จำเป็นในงาน
ปัจจัยที่ 3 : ความรู้ที่จำเป็นในงาน (ต่อ)
การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างานการกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน ทำไมต้องมีการประเมินค่างาน หลัก Equal pay for Work of Equal value เพื่อกำหนดระดับตำแหน่งสำหรับการจ่ายค่าตอบแทน (ตามเส้นทางความก้าวหน้า) ให้ผู้ปฏิบัติงานอย่างเป็นธรรม
1. มีการกำหนดตำแหน่งขึ้นใหม่ในหน่วยงาน 2. หน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพงานเปลี่ยนไป 3. ต้องจัดระดับตำแหน่งเพื่อกำหนดค่าตอบแทน ที่เป็นธรรม ต้องมีการประเมินค่างานในเวลาใด
การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างานการกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน Job Evaluation www.ocsc.go.th กระบวนการประเมินค่างาน วินิจฉัย ตีค่างาน (คณะกรรมการ) ค่างาน ยอมรับได้ Acceptable มีความยุติธรรม Felt-Fair
หลักการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน 2 4 ไม่มีอคติ – เก็บข้อมูล วิเคราะห์และตีค่างานอย่างเป็นธรรม ต้องเข้าใจงาน – ต้องมีการวิเคราะห์งาน ประเมินที่งาน - มิใช่ตัวบุคคลที่ครองตำแหน่ง ตรวจสอบให้แน่ใจ - ตรวจสอบความสัมพันธ์ทั้งแนวนอนและแนวดิ่ง มีมาตรฐาน - ต้องสะท้อนกับงานปัจจุบันและสอดคล้องกับระดับตำแหน่ง 1 3 5
ลักษณะงาน และหน้าที่ของ ตำแหน่ง แนวทาง/ หลักเกณฑ์ต่างๆ โครงสร้าง ภารกิจและ อัตรากำลัง ข้อมูลประกอบ การพิจารณา แผนการ กำหนด ตำแหน่ง สถิติผลงาน นโยบาย แผนงาน/ โครงการ ข้อมูลประกอบการพิจารณาประเมินค่างาน Add your text in here
การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างานการกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน ความหมายของคำที่ควรทราบ ลักษณะงาน การพิจารณา ความหมายของ คำที่เกี่ยวข้อง ปริมาณงาน หน้าที่และ ความรับผิดชอบ คุณภาพและความยุ่งยากของงาน
รูปแบบและวิธีการประเมินค่างานรูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน 1. วิธีการจัดลำดับงาน 2. วิธีการจับเปรียบเทียบ 3. วิธีการจัดชิ้นงานหรือจำแนกงาน 4. วิธีการให้คะแนนองค์ประกอบ 5. วิธีการเปรียบเทียบองค์ประกอบ
วิธีการจัดลำดับงาน (Job Ranking Method) : เรียงลำดับความสำคัญของงาน รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน เมื่อจัดลำดับแล้ว
วิธีการจัดเปรียบเทียบ (Paired Comparison Method) : เปรียบเทียบตำแหน่งงานเป็นคู่ๆ รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน 3 – ความสำคัญสูงกว่า 2 – ความสำคัญเท่ากัน 1 - ความสำคัญน้อยกว่า
วิธีการจัดเปรียบเทียบ (Paired Comparison Method) : เปรียบเทียบตำแหน่งงานเป็นคู่ๆ รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน 3 – ความสำคัญสูงกว่า 2 – ความสำคัญเท่ากัน 1 - ความสำคัญน้อยกว่า
3. วิธีการจัดชั้นงานหรือจำแนกงาน (Job Grading/Job Classification Method) : กำหนดระดับหรือนิยามงานไว้แล้วพิจารณาเปรียบเทียบจัดระดับ รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน
3. วิธีการจัดชั้นงานหรือจำแนกงาน (Job Grading/Job Classification Method) : กำหนดระดับหรือนิยามงานไว้แล้วพิจารณาเปรียบเทียบจัดระดับ รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน เป็นงานระดับต้นที่ต้องการผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาที่สามารถเรียนรู้และพัฒนาขึ้นได้ ปฏิบัติงานอยู่ใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ โดยมีคู่มือแนวทางปฏิบัติ หรือขั้นตอนการทำงานที่เป็นมาตรฐาน ปฏิบัติการ/ปฏิบัติงาน
ชำนาญการ/ ชำนาญงาน
3. วิธีการจัดชั้นงานหรือจำแนกงาน (Job Grading/Job Classification Method) :กำหนดระดับหรือนิยามงานไว้แล้วพิจารณาเปรียบเทียบจัดระดับ รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน เป็นงานที่ปฏิบัติโดยผู้รอบรู้ชำนาญการในสายงานวิชาชีพนั้น มีการนำทฤษีแนวคิดมาปรับใช้ในงานที่ซับซ้อนได้มีการวางแผน ควบคุม ติดตาม และมอบหมายงาน ต้องตัดสินใจแก้ไขปัญหาปรับแนวทางในการทำงานได้ ชำนาญการพิเศษ/ชำนาญงานพิเศษ
3. วิธีการจัดชั้นงานหรือจำแนกงาน (Job Grading/Job Classification Method) :กำหนดระดับหรือนิยามงานไว้แล้วพิจารณาเปรียบเทียบจัดระดับ รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน เป็นงานที่ปฏิบัติงานฐานะผู้เชี่ยวชาญในสายงานวิชาชีพ หรือมีบทบาทวางแผนติดตาม โครงการสำคัญๆ ให้คำปรึกษากับหน่วยงานปฏิบัติ มีความอิสระในการปรับแนวทางปฏิบัติและแก้ไขปัญหาตามกรอบนโยบาย เชี่ยวชาญ
3. วิธีการจัดชั้นงานหรือจำแนกงาน (Job Grading/Job Classification Method) :กำหนดระดับหรือนิยามงานไว้แล้วพิจารณาเปรียบเทียบจัดระดับ รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน เชี่ยวชาญพิเศษ เป็นงานระดับสูงสุดของวิชาชีพ ที่ต้องปฏิบัติในฐานะผู้นำทางวิชาการเฉพาะด้าน มีผลงานเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ ผลการดำเนินงานอยู่ในระดับการวางกลยุทธ์ขององค์กร
ความหมาย เป็นการประเมินคุณภาพงานของตำแหน่ง ซึ่งมีวิธีดำเนินการอย่างเป็นระบบในการจัดลำดับชั้นงาน เพื่อให้ได้ค่างานอย่างสมเหตุสมผลและเป็นธรรม โดยนำงาน มาวิเคราะห์ลักษณะหน้าที่ ความรับผิดชอบ คุณภาพ และความยุ่งยากของงาน ที่เป็นปัจจุบัน การประเมินค่างาน(Job Evaluation)
ทำไมต้องมีการประเมินค่างานทำไมต้องมีการประเมินค่างาน Add your text in here เพื่อให้การกำหนดระดับตำแหน่งในส่วนราชการต่างๆ เป็นไปอย่างมีมาตรฐาน เป็นธรรม และไม่เหลื่อมล้ำกันระหว่างส่วนราชการและทุกตำแหน่งต้องเท่าเทียมกัน
การประเมินค่าของ “งาน” ไม่ใช่ประเมินค่า “คน” ต้องคำนึงถึง “งานของตำแหน่ง” เท่านั้น เนื่องจาก เป็นตำแหน่งขององค์กร ที่เห็นสมควรกำหนดให้ เหมาะสมกับขนาดหน้าที่ความรับผิดชอบคุณภาพ ของงานในตำแหน่ง นั้น ๆ ไม่ใช่ประเมินคนที่ครองแหน่ง สิ่งที่ควรรู้ก่อนประเมินค่างาน
กระบวนการที่ใช้ในประเมินค่างานกระบวนการที่ใช้ในประเมินค่างาน 1) วิเคราะห์โครงสร้าง ภารกิจ ความสัมพันธ์ของตำแหน่ง 2) วิเคราะห์ลักษณะงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ 3) การวิเคราะห์คุณภาพและความยุ่งยากซับซ้อนของงาน
เป็นการวิเคราะห์ถึงความรับผิดชอบ ระดับการตัดสินใจ ระดับของผลกระทบ และระดับของความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในงาน การวิเคราะห์ในส่วนนี้อาจจะพิจารณาผลลัพธ์ของการทำงาน การใช้ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่ตำแหน่งนั้นต้องการ การใช้ความคิดริเริ่มที่ต้องการในงานมากน้อยเพียงใด และหากเทียบเคียงกับหน่วยงานอื่น มีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ทั้งนี้ ต้องพิจารณาผลการปฏิบัติงานจริงในปัจจุบัน
การกำหนดน้ำหนักของคะแนน : • ระดับชำนาญงาน ชำนาญงานพิเศษ • ระดับชำนาญการ และชำนาญการพิเศษ
การกำหนดน้ำหนักของคะแนน : ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ
การกำหนดน้ำหนักของคะแนน : ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ
การกำหนดน้ำหนักของคะแนน : ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ
การกำหนดน้ำหนักของคะแนน : ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ
การกำหนดน้ำหนักของคะแนน : ระดับชำนาญงาน ระดับชำนาญงานพิเศษ
การกำหนดน้ำหนักของคะแนน : ระดับชำนาญงาน ระดับชำนาญงานพิเศษ
การกำหนดน้ำหนักของคะแนน : ระดับชำนาญงาน ระดับชำนาญงานพิเศษ
การกำหนดน้ำหนักของคะแนน : ระดับชำนาญงาน ระดับชำนาญงานพิเศษ
การกำหนดน้ำหนักของคะแนน : • ของระดับเชี่ยวชาญ และเชี่ยวชาญพิเศษ
การกำหนดน้ำหนักของคะแนน :ระดับเชี่ยวชาญ และเชี่ยวชาญพิเศษ
การกำหนดน้ำหนักของคะแนน :ระดับเชี่ยวชาญ และเชี่ยวชาญพิเศษ
การกำหนดน้ำหนักของคะแนน :ระดับเชี่ยวชาญ และเชี่ยวชาญพิเศษ
เกณฑ์การตัดสิน ระดับคะแนนที่ผ่านตามเกณฑ์การประเมินค่างาน ของแต่ละระดับตำแหน่ง
เอกสารที่ใช้ประกอบการพิจารณาเอกสารที่ใช้ประกอบการพิจารณา • แบบประวัติส่วนตัวและผลงาน • แบบประเมินค่างาน • มาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่ประเมินค่างาน • หลักเกณฑ์และข้อพิจารณาแนวทางการ • ประเมินค่างานของตำแหน่ง • - ระดับชำนาญการ , ชำนาญการพิเศษ • - ระดับชำนาญงาน , ชำนาญงานพิเศษ ระดับเชี่ยวชาญ , เชี่ยวชาญพิเศษ
เอกสารอ้างอิง 1. นนทิกร กาญจนะจิตรา เลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ. 2. คู่มือประเมินค่างาน สำนักงานก.พ. 3. ประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง มาตรฐานการกำหนดระดับตำแหน่งและการแต่งตั้ง ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น พ.ศ. 2553 งานบริหารงานบุคคล กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี
Thank you! งานบริหารงานบุคคล กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี