1 / 22

รูปแบบการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนด้วยครูต้นแบบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

รูปแบบการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนด้วยครูต้นแบบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข prachyanunn@kmitnb.ac.th http://www.prachyanun.com. ครูต้นแบบ.

Download Presentation

รูปแบบการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนด้วยครูต้นแบบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รูปแบบการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนด้วยครูต้นแบบสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษารูปแบบการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนด้วยครูต้นแบบสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข prachyanunn@kmitnb.ac.th http://www.prachyanun.com

  2. ครูต้นแบบ • ครูต้นแบบ คือ ครูที่มีผลงานดีเด่นด้านการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและเรียนรู้อย่างมีความสุข มีขั้นตอนการสอนที่สามารถเป็นแบบอย่างและสามารถขยายผลแก่เพื่อนครูได้มีความประพฤติดี ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณครูและมีบุคลิกภาพของความเป็นครู • ครูต้นแบบเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมหมายถึง ครูสาขาเกษตรกรรมและครูสาขาช่างอุตสาหกรรม สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาที่มีผลงานดีเด่นเป็นต้นแบบในการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บแก่นักเรียนนักศึกษา มีความประพฤติดี ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณครูและมีบุคลิกภาพของความเป็นครู

  3. ทำไมจึงเป็น “ครูต้นแบบ” • เป็นต้นแบบในวิชาที่ใช้เรียนผ่านเว็บ โดยจะใช้เรียนทั่วประเทศ • เป็นต้นแบบเฉพาะสาขาวิชาชีพของตนเอง • เป็นต้นแบบในการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บเต็มรูปแบบ • เป็นต้นแบบรุ่นแรกของ สอศ. • เป็นแบบอย่างในความเสียสละความรู้เป็นวิทยาทาน • เป็นแบบอย่างของการประพฤติปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณครูและมีบุคลิกภาพของความเป็นครู

  4. หลักการและเหตุผล • “เราต้องเชื่อถือและยอมรับคนของเรา” (ศ.ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน) • อีเลินนิ่งมีราคาแพงและสร้างโดยผู้ไม่ชำนาญเนื้อหา • อาชีวศึกษาสร้างเองได้ โดยอาศัยครูต้นแบบ • ครูต้นแบบคือครูผู้เสียสละ อาสาสมัครคัดเลือกเข้ามาด้วยใจ • ครูเกษตรกรรมและช่างอุตสาหกรรมทำงานเป็นทีม 4 คน/วิชา • อบรมอีเลินนิ่งและร่วมกันพัฒนาเนื้อหารายวิช • เมื่อครูสร้างเสร็จนำไปทดสอบใช้งาน/วิจัยชั้นเรียน/รายงานผล • แสดงผลงานและนำเสนอผลสำเร็จ • ได้รับการประกาศเป็น “ครูต้นแบบ สอศ” รุ่นที่ 1

  5. วัตถุประสงค์ • 1. เพื่อสร้างรายวิชาสำหรับระบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ โดยครูต้นแบบเกษตรกรรม/ช่างอุตสาหกรรมของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา • 2. เพื่อพัฒนาระบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ โดยครูต้นแบบเกษตรกรรม/ ช่างอุตสาหกรรมของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา • 3. เพื่อประเมินคุณภาพของระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านเว็บสาขาเกษตรกรรม/ช่างอุตสาหกรรมของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา • 4. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บสาขาเกษตรกรรม/ ช่างอุตสาหกรรมของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  6. เป้าหมาย • ระบบอีเลินนิ่งเกษตรกรรม 3 รายวิชา • ระบบอีเลินนิ่งช่างอุตสาหกรรม 3 รายวิชา • ครูต้นแบบเกษตรกรรม 9 คน • ครูต้นแบบช่างอุตสาหกรรม 9 คน • ครูต้นแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 6 คน • ข้อสอบมาตรฐานวิชาชีพ 6 วิชา • คู่มืออีเลินนิ่ง 6 วิชา • งานวิจัยการเรียนการสอน 7 เรื่อง (ครูต้นแบบ 6 เรื่อง คณะวิจัย 1 เรื่อง)

  7. กรอบแนวคิดพัฒนาครูต้นแบบ (HPT)Human Performance Technology • การวิเคราะห์ความสามารถ ( Performance Analysis) • การวิเคราะห์เหตุผล (Cause Analysis) • การเลือกวิธีผลักดัน ออกแบบและพัฒนา (Intervention Selection, Design and Development) • การผลักดันนำไปใช้และการเปลี่ยนแปลง (Intervention Implementation and Change) • การประเมินผลโดยรวม (Evaluation)

  8. กรอบแนวคิดการพัฒนาการเรียนการสอน (ISD)Instructional System Design) • การวิเคราะห์ (Analysis) • การออกแบบ (Design) • การพัฒนา (Development) • การนำไปใช้ (Implementation) • การประเมินผล (Evaluation)

  9. ภารกิจครูต้นแบบ • ครูต้นแบบ 3 คน • อบรมทำความเข้าใจระบบ LMS • กำหนดรูปแบบรายวิชา • กำหนดวัตถุประสงค์รายวิชา • คำอธิบายรายวิชา • กำหนดขอบเขตเนื้อหาวิชา • จัดทำแบบทดสอบ • ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์การเรียน

  10. ประโยชน์ที่ครูต้นแบบจะได้รับประโยชน์ที่ครูต้นแบบจะได้รับ • เกียรติบัตรครูต้นแบบ สอศ. • การเป็นครูต้นแบบเป็นผลงานในระดับครูชำนาญการพิเศษและครูเชี่ยวชาญ • เกียรติประวัติและการยอมรับนับถือ • ระบบการเรียนการสอนผ่านเว็บวิชาที่สอน • ผลงานทางวิชาการสำหรับการเสนอขอผลงาน • เพื่อนใหม่และคนในวงการเดียวกัน • ความท้าทายใหม่/ประสบการณ์ในระดับชาติ • พฤติกรรมที่ต้องเปลี่ยนไปเพื่อรักษาเกียรติครูต้นแบบ • การเรียนการสอนแบบใหม่ ๆ สำหรับลูกศิษย์

  11. ปัจจัยนำเข้าโครงการ • ครูผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ • ครูเกษตรกรรม • ครูช่างอุตสาหกรรม • ครูสื่ออิเล็กทรอนิกส์ • ระบบ e-Learning • Moodle

  12. กระบวนการโครงการ • แนวคิดการพัฒนาระบบการเรียนการสอน • E-Learning ไม่สำเร็จถ้าคนทำไม่ใช่ระดับครูต้นแบบ จึงคัดเลือกครูมาเป็นต้นแบบ 6 วิชา จำนวน 18 คน • ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ • Moodle ไม่มีประโยชน์ถ้าเนื้อหาไม่ครบวิชา ไม่ตรงวัตถุประสงค์ ครูต้นแบบจึงต้องรู้ Moodle แต่มีคนจัดทำและดูแลระบบให้ • การร่วมมือ • ครูต้นแบบทำงานคนเดียวไม่สำเร็จ จึงคัดเลือกมาเป็นทีม • ครูต้นแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์จะดูแลเว็บและนำเนื้อหาเข้าเว็บ • แนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • การจัดทำ e-Learning เพื่อเด็ก คนจะเรียนรู้ได้ต้องสอนด้วยคนที่เป็นต้นแบบ

  13. ผลผลิตของโครงการ • E-Learning เกษตรกรรม วิชา • การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว • หลักการส่งเสริมการเกษตร • หลักพืชกรรม • E-Learning ช่างอุตสาหกรรม วิชา • เครื่องมือวัดไฟฟ้า • งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น • งานเครื่องยนต์เบื้องต้น

  14. ผลผลิตของโครงการ (2) • ครูต้นแบบเกษตรกรรม 9 คน • ครูต้นแบบช่างอุตสาหกรรม 9 คน • ครูต้นแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 6 คน • e-Learning 6 วิชา • งานวิจัย 7 เล่ม • ข้อสอบมาตรฐาน 6 วิชา • รูปแบบการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนโดยครูต้นแบบ (Model)

  15. ผลลัพท์ของโครงการ • ระบบการเรียนการสอนผ่านเว็บช่างอุตสาหกรรม สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดสอนในภาคเรียนที่ 2/2550 • เครือข่ายครูต้นแบบช่างอุตสาหกรรม สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพื่อพัฒนาการอาชีวศึกษา • ครูต้นแบบช่างอุตสาหกรรม สามารถเข้าร่วมในคลัสเตอร์ช่างอุตสาหกรรม • ข้อสอบมาตรฐานรายวิชาช่างอุตสาหกรรม สำหรับสำนักมาตรฐานอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สอศ. • ระบบการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ • ระบบการศึกษาเสริมระบบการเทียบโอนหน่วยกิตและระบบเทียบโอนประสบการณ์วิชาชีพ

  16. 23 – 27 เมษายน 2550 • 23 เม.ย. 50 ปฐมนิเทศ /อบรม Moodle /กำหนดขอบเขตวิชา • 24 เม.ย. 50 อบรม Moodle/สร้างเนื้อหาบทเรียน • 25 เม.ย. 50 การจัดทำเนื้อหาบทเรียน • 26 เม.ย. 50 การจัดทำแบบทดสอบและข้อสอบ • 27 เม.ย. 50 การประเมินผลงานครูต้นแบบขั้นต้น

  17. 8-9 พฤษภาคม 2550 • 8 พ.ค.50 นำเสนอผลงานครูต้นแบบ/แก้ไขปรับปรุง • อบรมการวัดผลและประเมินผล/อบรมการหาประสิทธิภาพของเว็บไซต์ • อบรมการประเมินผลเว็บและการวิจัย • 9 พ.ค.50 ตรวจสอบความถูกต้องและรับรองเนื้อหาแบบฝึกหัด ข้อสอบ • ประเมินระบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ ชี้แจงขั้นตอนทดลอง • ประเมินผลงานครูต้นแบบ รอบที่สอง

  18. 2-3 สิงหาคม 2550 (เฉพาะคณะทำงาน) • ครูต้นแบบส่งผลงาน e-Learning ที่สำเร็จ • ครูต้นแบบส่งผลการประเมินประสิทธิภาพบทเรียน • คณะกรรมการรายงานผลการประเมินคุณลักษณะครูต้นแบบ • คณะกรรมการรายงานผลการประเมินสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของครูต้นแบบ • ตัดสินผลงานโดยคณะกรรมการของ สอศ. • ประกาศผลและรับรองครูต้นแบบ

  19. 10-13 สิงหาคม 2550 • 10-13 ส.ค.50 ครูต้นแบบนำเสนอผลงานที่เมืองทองธานี • 11 ส.ค. 50 ประเมินผลงานครูต้นแบบ รอบที่สาม • 12 ส.ค. 50 ครูต้นแบบแสดงผลงานที่เมืองทองธานี • รับมอบผลงานครูต้นแบบและมอบเกียรติบัตรครูต้นแบบ สอศ. • 13 ส.ค. 50 สรุปผลโครงการและนำเสนอผลการวิจัย

  20. 15 กันยายน2550 • E-Learning 6 รายวิชาเปิดใช้งาน • ประกาศยกย่องและทำหนังสือแจ้งต้นสังกัดครูต้นแบบทุกคน • คณะทำงานเสนอผลงานวิจัยสรุป • คณะทำงานเสนอข้อสอบมาตรฐาน 6 รายวิชา • คณะทำงานเสนอรายงานการวิจัยเล่มสมบูรณ์ • คณะทำงานเสนอโครงการครูต้นแบบ รุ่นที่ 2

  21. ขอบพระคุณ • ขอบคุณความเสียสละของครูต้นแบบ • ขอบคุณความตั้งใจของงานมาตรฐานสื่อการสอน สำนักมาตรฐานอาชีวศึกษาและการอาชีพ สอศ. • ขอบคุณวิทยากร อ.สยาม จวงประโคน

  22. ที่ปรึกษาโครงการ • ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข • ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม • สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ • 081-7037515 • prachyanunn@kmitnb.ac.th • http://www.prachyanun.com

More Related